กินยาหลายขนาน ระวังยาตีกัน


รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : กินยาหลายขนาน ระวังยาตีกัน

วันจันทร์ ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2565, 07.10 น.

  คงไม่มีใครไม่เคยเจ็บป่วย หลายครั้งเมื่อเจ็บป่วย เราต้องหายามารับประทาน โดยอาจได้ยาจากโรงพยาบาลหลังจากไปพบแพทย์ หรือบางรายอาจจะไปหาซื้อยาตามร้านขายยาทั่วไป แต่ขอแนะนำร้านขายยาที่มีเภสัชกรเท่านั้นนะครับ หรือบางครั้งก็ใช้ยาสมุนไพร ยาแผนโบราณ แต่ไม่ว่าจะได้ยาจากที่ใด ผู้ใช้ยาก็หวังว่าจะหายจากการเจ็บไข้ได้ป่วย แล้วทำให้กลับไปมีชีวิตตามปรกติเหมือนเดิม สำหรับคนที่มีโรคประจำตัวอยู่ก่อน เมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคอื่นๆ ก็จำเป็นต้องระมัดระวังการใช้ยาตัวใหม่ที่อาจจะเกิดปัญหายาตีกันกับยาตัวเดิม เช่น คนที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง โรคหัวใจ เป็นต้น ผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องมียาประจำตัวสำหรับรับประทานเป็นประจำ แล้วถ้ายิ่งบางรายมีหลายโรคพร้อมๆ กัน ยาที่รับประทานก็จะมีจำนวนมากมายตามไปด้วย ...อ่านต่อ
 

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์ของคุณให้ดียิ่งขึ้น คุณสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้สำหรับการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้

บันทึก

Leave Comment

 
 
Contact : 254 Phaya Thai Road, Pathum Wan, Bangkok 10330
02-218-8257
Email: info@pharm.chula.ac.th
ติดต่อสอบถามเกี่ยวกับยา สุขภาพหรือนวัตกรรมของคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ที่ Line official @guruya หรือเว็บไซต์ https://www.pharm.chula.ac.th/guruya/