คำค้นหา :
-
"ใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ในนาคตที่ยั่งยื่น?"
-
"ใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ในนาคตที่ยั่งยื่น?"2
-
"ใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ในนาคตที่ยั่งยื่น?"3
-
"ใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ในนาคตที่ยั่งยื่น?"4
-
ณ.ห้องประชุม 1002 ชั้น 10 อาคารนวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
ณ ห้องประชุม 1002 ชั้น 10 อาคารนวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมวิชาการ ผ่านระบบ Zoom Webinar "การพัฒนา การผลิต การดูแล และการใช้หนูเม้าส์ดัดแปรทางพันธุกรรม" วันศุกร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 และวันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2564 เวลา 13.00 – 15.00 น. ผ่านระบบออนไลน์ Zoom webinar (ลงทะเบียนฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย) ที่เว็บไซด์นี้ http://pharmce.weebly.com รับผู้เข้าร่วมประชุมจำนวนไม่เกิน
-
[:th]การประชุมใหญ่สามัญ สภจ. ประจำปี พ.ศ. 2563 สมาคมนิสิตเก่าคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สภจ.) เรื่อง บทบาทของเภสัชกร ในการให้บริการวัคซีน COVID-19 วันเสาร์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เวลา 10.00 - 11.15 น. ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวนไม่เกิน 500 ท่าน เงื่อนไขในการได้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง จำนวน 1.00 หน่วยกิต ประกอบด้วยการด
-
[:en]ลงทะเบียนการใช้งาน TCAS65 ทาง http://student.mytcas.com[:]
-
[:en]13-23 ธันวาคม 2564 รับสมัครผ่านระบบศูนย์ทดสอบทางวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทาง www.tcas.atc.chula.ac.th คณะเภสัชศาสตร์เปิดรับเฉพาะนักเรียนโครงการโอลิมปิกวิชาการสาขาเคมี และสาขาชีววิทยา ประกาศรับสมัคร http://www.admissions.chula.ac.th/images/stories/26.phama_r1-65.pdf เอกสารประกอบการสมัคร http://www.admissions.chula.ac.th/images/
-
[:en]โควตา (Quota) http://www.admissions.chula.ac.th/tcas2.html 14-24 กุมภาพันธ์ 2565 รับสมัครผ่านระบบศูนย์ทดสอบทางวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทาง www.tcas.atc.chula.ac.th คณะเภสัชศาสตร์รับทั้งหมด 4 โครงการ โครงการจุฬาฯ-ชนบท รับสาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม โรงเรียนกำเนิดวิทย์ รับสาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ และสาขาวิชาการบริบาลท
-
[:en]26 มีนาคม 2565 สอบวิชาเฉพาะ กสพท. คุณสมบัติเฉพาะของผู้สมัครเข้าเรียนหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต https://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/0Hi2Dn6Qu0Sr7Nt1Yq1H.pdf หลักเกณฑ์และขั้นตอนการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา https://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/5Ak7Ay5Dy6Cm8Oa7Xb3D.pdf[:]
-
[:th] งานประชุมวิจัยนานาชาติทางเภสัชศาสตร์ ประจำปี 2565 ขยายเวลาส่งผลงาน (abstract, proceeding) ถึงวันศุกร์ที่ 4 มีนาคม 2565 รายละเอียดเพิ่มเติม : http://cu-amps.weebly.com/ [:en] งานประชุมวิจัยนานาชาติทางเภสัชศาสตร์ ประจำปี 2565 ขยายเวลาส่งผลงาน (abstract, proceedi
-
ขอเชิญลงทะเบียน โครงการอบรม เรื่อง 9th Conference on Drug Quality: “Mutagenic Impurities in Pharmaceuticals: Threat, Impact, and Control” รูปแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom Webinar วันศุกร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2565 เวลา 09.00 – 12.00 น. อัตราค่าลงทะเบียนท่านละ 1,111 บาท *ลงทะเบียน ภายในวันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2565 ก่อนเวลา 12.00 น. **โปรดชำร
-
บจก.จุฬาฟาร์เทคและ บจก.ไทธนบุรี คอร์ปอเรชั่น ขอเรียนเชิญร่วมงาน “From Stem to Skin” เพื่อเปิดตัวนวัตกรรมที่พัฒนาจากงานวิจัย ที่ Siam Innovation District (SID) ชั้น 3 ในวันอังคารที่ 26 เม.ย. 2565 (เวลา 9.30-11.30 น.) หรือทาง Facebook live คณะเภสัชศาสตร์ จุฬา
-
[:th]วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เวลา 10.00 - 11.15 น. ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวนไม่เกิน 500 ท่าน ท่านสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ หน่วยการศึกษาต่อเนื่อง คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย E-mail: CE@pharm.chula.ac.th https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSeETB9VhfkpuEOBd9ArMJdk_u0aen8tsj0pRv62hbvRjY1qMA/viewform ผ่านระบบออนไลน์ ZO
-
----CPE 1.5 Credit---- ขอเชิญร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) ในหัวข้อ Update on Acne and Seborrheic Dermatitis Treatment for Community Pharmacist โดย นพ.รัสมิ์ภูมิ สุเมธีวิทย์ (Executive Director of Rassapoom Skin Clinic Speaker for Dermatologist in Thailand and Abroad) ในวันจันทร์ที่ 30 พฤษภาคม 256
-
----CPE 1.5 Credit---- ขอเชิญร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) ในหัวข้อ Hand-Foot-Mouth Disease and Benefits of Mucoadhesive Mouth Spray โดย ศ.พญ.ศศิธร ลิขิตนุกูล (คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) และ อ.ภก.ดร.กิติยศ ยศสมบัติ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ในวันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2562 เวลา
-
[:th] ----CPE 1 Credit---- ขอเชิญร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการออนไลน์ ในหัวข้อ Pharmacy Expert การดูแลผู้ป่วยภูมิแพ้และหอบหืดที่ติดเชื้อโควิด 19 โดย ผศ. ดร. นพ.สิระ นันทพิศาล (กุมารแพทย์เฉพาะทาง ด้านโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ในวันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 เวลา 14.00
-
[:th] ----CPE 1.50 Credit---- ขอเชิญร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) ในหัวข้อ Metabolic Syndrome: A Couple of Fats and Options to Beat Them โดย อ. ภก. ดร.กิติยศ ยศสมบัติ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) และ รศ. ภญ. ดร.พรวลัย บุญเมือง (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร) ในวันอาทิตย์ท
-
[:th] CPE 8.25 Credit ขอเชิญร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) ในหัวข้อ การแพทย์แม่นยำ : หลักการและการประยุกต์ใช้สำหรับเภสัชกร (Precision Medicine: Principle and Application for Pharmacists) >> เข้าใจหลักการวิเคราะห์จีโนมและโอมิกส์อื่น ๆ >> เข้าใจหลักการทางเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์
-
---- CPE 6 Credit ---- เรียนเชิญเภสัชกร คณาจารย์ นักวิจัย นิสิต และนักศึกษา บุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน และผู้ที่สนใจทั่วไปลงทะเบียน เพื่อฟังการบรรยายวิชาการจากทาง คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในหัวข้อหลัก : นวัตกรรมทางสมุนไพร สิ่งที่ต้องรู้ด่อนลงมือทำ ในวันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม 2565 นี้ เ
-
[:th] ----CPE 1.5 Credit---- ขอเชิญร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) และ Facebook Live ในหัวข้อ Evusheld: The answer for those not responding to the covid vaccines. โดย นพ.วีรวัฒน์ มโนสุทธิ, รศ. ภญ. ดร.ณัฎฐดา อารีเปี่ยม และ ผศ. ภก. ดร.บดินทร์ ติวสุวรรณ ในวันจันทร์ที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวล
-
----CPE 2 Credit---- ขอเชิญร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) ในหัวข้อ Pharmacy Practice for Health & Wellness ครั้งที่ 1 Towards Better Care for Common Skin Problems หัวข้อย่อย : 1. Role of dermocosmetic in hyperpigmentation โดย รศ.ดร.พญ.รัชต์ธร ปัญจประทีป ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. Dr
-
[:th] ----CPE 1.5 Credit---- ขอเชิญร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) ในหัวข้อ Knowing Long Covid-19 and How the Rapid Test Move Us Forward. หัวข้อย่อย : 1.1 Long Covid ได้แก่ ข้อมูลทางสถิติ-ระบาดวิทยา, อาการที่พบบ่อย, แนวทางปฏิบัติตัวเมื่อมีอาการ 1.2 แนวทางการป้องกันภาวะ Long Covid 1.3 การใช้ Covi
-
[:th] เรียนเชิญเภสัชกรเข้าร่วมการประชุมวิชาการออนไลน์ (webinar) ของคณะเภสัชฯ จุฬา วันเสาร์ที่ 17 กันยายนนี้ 10.30-12.00 น. ได้ CPE 1.5 หน่วยกิต หัวข้อเรื่อง บทบาทเภสัชกรในการจัดการผู้ป่วยอาการหลงลืม-ภาวะสมองเสื่อม โดย อ.ภก.ดร. สิริชัย ชูสิริ จากคณะเภสัช จุฬา และ และ พญ.ชลธิชา ประสาทสกุลชัย อายุรแพทย์ระบบประสาท
-
[:th] ----CPE 1.0 Credit---- ขอเชิญร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) ในหัวข้อ Update on Pain Management under ongoing Covid19 in Community Pharmacy. โดย รศ.ภก. ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์ (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล) ในวันพุธที่ 31 สิงหาคม 2565 เวลา 14.00 – 15.00 น. Link ลงทะเบียน : https://www.ce.pharm.chula.ac.th/event/up
-
[:th] ----CPE 18 Credit---- ขอเชิญร่วมการประชุมวิชาการ เรื่อง Pharmacotherapy in Cardiometabolic Diseases ครั้งที่ 13 ณ โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร และ Zoom Webinar ในวันที่ 21 - 23 กันยายน 2565 วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ที่ทันสมัยเพี่ยวกับการใช้ยาบำบัดรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแล
-
[:th] ----CPE 11 Credits---- ขอเชิญชวนเข้าร่วมโครงการอบรม เรื่อง 11th Conference on Drug Quality: FUNDAMENTALS BEHIND PHARMACEUTICAL SPECIFICATION & QUALITY REQUIREMENT BEYOND SPECIFICATION วันศุกร์ที่ 24 – 25 พฤษจิกายน พ.ศ. 2565 อัตราค่าลงทะเบียน หน่วยงานภาครัฐ - ชำระค่าลงทะเบียนภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2565 ท่
-
[:th] --CPE 1 credits-- ขอเชิญร่วมการประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) เรื่อง การดูแลและป้องกันปัญหารอยดำจากสิว DERMATOLOGICAL ACNE DARK MARKS CORRECTION & PREVENTION วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม 2565 เวลา 10.00-11.45 น. หัวข้อย่อย PIGMENTATION DISORDER : CORRECT &PROTECT โดย รศ.นพ.วาสนภ วชิรมน DERMAT
-
-
[:th] ด้วยหน่วยสัตว์ทดลอง คณะกรรมการกำกับดูแลการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ และคณะกรรมการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ของคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ ศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศปอส.) ได้จัด โครงการอบรม “หลักการความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานกับส
-
[:th] ขอเชิญเข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สารสำคัญในสมุนไพรและการทดสอบกลุ่มสารสำคัญเบื้องต้น วันที่ 11-12 มีนาคม พ.ศ. 2566 เวลา 9.00 น. – 16.00 น. ณ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวข้อการอบรม วันเสาร์ที่ 11 มีนาคม 2565 >> องค์ประกอบทางเคมีในสมุนไพร >> สารประกอบฟี
-
[:th] --CPE 1.75 credits-- ขอเชิญร่วมการประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) เรื่อง READY? TO GO OUTSIDEE WITH CONFIDENCE วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 เวลา 9.30 - 11.40 น. หัวข้อย่อย 9.30-10.10 น. รู้เท่าทันยาแก้ปวดกลุ่ม COXIBs โดย อ.นพ. โชคสุพรรณ ดีวิจิตร ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลกรุงเทพ เชียงใ
-
[:th] --CPE 2.0 credits-- ขอเชิญร่วมการประชุมวิชาการออนไลน์ (Webinar) เรื่อง Weekend Talks Sit with Experts วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 เวลา 10.00 - 12.00 น. หัวข้อย่อย 10.00-11.00 น Clinical Practice Update - Diabetes; What’s new with ADA 2023 Assoc.Prof.Apussanee Boonyavarakul (Phramongkutklao Hospital) - C
-
[:th] --CPE 2 credits-- สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญร่วมการประชุมวิชาการแบบ Hybrid meeting เรื่อง My Brain สุชภาพสมอง วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 เวลา 9.00 - 12.00 น. หัวข้อย่อย 9.20-10.00 น. How importance of TAQ for pre-screening MCI patients.
-
[:th] --CPE 16 credits-- คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญร่วมโครงการประชุมวิชาการ เรื่อง BASIC CLINICAL RESEARCH MANAGEMENT วันที่ 18, 25 มีนาคม 2566 สัมมนาออนไลน์ผ่าน Zoom เวลา 9.00 – 16.00 น. วันที่ 1 เมษายน 2566 สัมมนาออนไซต์และ Workshop เวลา 9.00 – 16.00 น. เสาร์ 18 มี.ค. 66 (Zoom Webina
-
[:th] คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญร่วมโครงการอบรม 12TH Conference on Drug Quality “Quality from bench to shelf: A Foundation to market success” วันที่ 17 มีนาคม 2566 ณ คณะเภสัชศษสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ Online ผ่านระบบ Zoom 9.00 – 12.00 น. Pharmaceutical Sciences in practices - Quality from b
-
[:th] หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาโท และปริญญาเอก คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าศึกษาทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ที่จบปริญญาตรีเภสัชศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต และสาขาที่เกี่ยวข้องเข้าศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2566 เปิดรับสมัคร :1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 พฤษภาคม 2566......more details
-
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับการตรวจเยี่ยมตามเกณฑ์ (Visit Site) ตามเกณฑ์ EdPex จากคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา Edpex 200 รุ่นที่10
-
[:th]คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดอบรมเรื่อง “การบริหารและปรับปรุงกระบวนงานด้วยเทคนิค PDCA” เพื่อให้เจ้าหน้าที่สายปฎิบัติการเข้าใจหลักการ PDCA สามารถวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้การการทำงานได้ จัดอบรม 2 รุ่น รุ่นที่ 1 : 27 มิถุนายน 2566 รุ่นที่ 2 : 29 มิถุนายน 2566 ณ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [
-
[:th]กลุ่มงานแผนและพัฒนาองค์กร คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อบรมเรื่อง “การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อผลสัมฤทธิ์ของงาน” เพื่อให้เจ้าหน้าที่สายปฎิบัติการมีความรู้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ระดับองค์กรและสามรถนำไปประยุกต์ใช้กับการทำงาน วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 ณ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [:en]On July 10, 2023, the Planning and Organizatio
-
[:th]กลุ่มงานแผนและพัฒนาองค์กร คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดสัมมนาบุคลากรสายปฏิบัติการ ประจำปี 2566 เรื่อง การพัฒนาทักษะการสื่อสาร การทำงานเป็นทีม เพื่อมุ่งสู่ EdPEx 300 วันที่ 21 – 23 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมระยองรีสอร์ท จ.ระยอง [:en]Join us at the Planning and Organization Development Group of the Faculty of Pharmacy, Chulalongkorn Uni
-
[:th][:]
-
การอบรม PHARMACY COMPETENCY WEB APP Tuesday Sep 12, 2023, 1.00 - 3.00 p.m. การอบรมการใช้งานระบบ PHARMACY COMPETENCY WEB APP ซึ่งจะมีการถ่ายทอดผ่านระบบ YouTube live ในวันที่ 12 ก.ย. 2566 เวลา 13.00-15.00 น. โดยท่านสามารถส่งคำถามได้ทาง Link
-
ประชาสัมพันธ์ หลักสูตรการเรียนรู้ตลอดชีวิต ห้ามพลาด กับ upskill/reskill course นำโดยทีมวิทยากรมากประสบการณ์มาร่วมบรรยาย new frontier research ทางด้าน biomaterial for drug discovery จากคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาลัย และ key academic partners โอกาสแห่งการเรียนรู้ มาถึงแล้ว ฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย (สนันสนุนทุนพัฒนาหลักสูตร โดย อว.)
-
[:th] วิทยาลัยเภสัชบำบัดแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมเป็นผู้มีความรู้ ความชำนาญ ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบำบัด ประจำปี พ.ศ. 2567 โดยเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม - 30 พฤศจิกายน 2566 ผู้สนใจสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ สนใจติดต่อ ผศ. ภญ. โชติรัตน์
-
PHARMACY JOB FAIR 2024 ในวันเสาร์ที่ 27 มกราคม 2567 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 10 อาคารนวัตกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้นิสิตได้สมัครงาน สัมภาษณ์กับแหล่งงาน ตลอดจนทำความรู้จักประเภทของงาน และตลาดงานโดยตรง
-
ฝ่ายกิจการนิสิตร่วมกับสำนักบริหารกิจการนิสิต จัดโครงการ ๕ สายธารแห่งความดี เราทำดีด้วยหัวใจ ในการช่วยเหลือผู้สูงอายุ โดยจะรวบรวมเงินและสิ่งของเพื่อไปบริจาค วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 ณ "ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุจังหวัดปทุมธานี"
-
[:th]โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการเพื่อส่งเสริมศักยภาพของอาจารย์เภสัชกรพี่เลี้ยงประจำแหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ เรื่อง “clinical supervision” งานประชุมทางออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom webinar วันศุกร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567 [:en]โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการเพื่อส่งเสริมศักยภาพของอาจารย์เภสัชกรพี่เลี้ยงประจำแหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ เรื่อง “clinical
-
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติ เรื่อง “สารสำคัญในสมุนไพรและการทดสอบกลุ่มสารสำคัญเบื้องต้น” ณ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 11-12 พฤษภาคม 2567 เวลา 9.00 – 16.00 น.
-
หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้นทางการบริหารเภสัชกิจ เทคนิคการสังเคราะห์หลักฐานทางวิชาการเพื่อการตัดสินใจเชิงนโยบายในการจัดการด้านยา ระยะเวลาอบรม 18 สัปดาห์ มีนาคม ถึง กรกฎาคม 2567
-
39th International Annual Meeting in Pharmaceutical Sciences 19 - 20 March 2024
-
Certificate short course training Program in Oncology/hematology Pharmaceutical Care Now Call for enrolment Start on January 2024
-
[:th]งานปัจฉิมนิเทศนิสิตชั้นปีที่ 6 ประจำปีการศึกษา 2566 ในวันเสาร์และอาทิตย์ที่ 20 – 21 เมษายน 2567 ณ ภูมนตรารีสอร์ท อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิตมีแนวทางในการดำรงชีวิตเมื่อออกสู่สังคมภายนอกมหาวิทยาลัย สามารถออกไปปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีคุณธรรมและจรรยาบรรณของวิชาชีพ ตลอดจนมีความรักความผูกพันทั้งต่อนิสิตด้วยกัน
-
[:th] โครงการประชุมวิชาการ เรื่อง Risk management plan (RMP): What, Why, and How? วันที่ 7 มิถุนายน 2567 onsite ณ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ วันที่ 21 มิถุนายน 2567 Online ทางระบบ Zoom meeting [:en]br โครงการประชุมวิชาการ เรื่อง Risk management plan (RMP): What, Why, and How? วันที่ 7 มิถุนายน 2567 onsite ณ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬา
-
โครงการอบรม Health Products Regulation and Registration in Thailand: Landscape, Groundwork, and Challenges ระหว่างวันที่ 23 – 24 พฤษภาคม 2567 ณ โรงแรมทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพฯ
-
[:th]กำหนดการรับนิสิตชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศึก ประกาศสำหรับผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษา แบบรายงานประวัติข้อมูลทั่วไปของผู้รับการสัมภาษณ์ [:en]กำหนดการรับนิสิตชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศึก ประกาศสำหรับผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษา แบบรายงานประวัติข้อมูลทั่วไปของผู้รับการสัมภาษณ์[:]
-
[:th] กิจกรรมการยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (สมุนไพร) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ขอเชิญชวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) หรือวิสาหกิจชุมชน หรือ OTOP ที่สนใจจะพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (สมุนไพร) สมัครเข้าร่วมกิจกรรมการยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรู
-
[:th] กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารแห่งอนาคต (อาหารและเครื่องดื่มเสริมสุขภาพ : functional food) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 📣📣📣 ขอเชิญชวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่สนใจพัฒนาอาหารแห่งอนาคต (Future Food) : - อาหารและเครื่องดื่มเสริมสุขภาพ (Functional Foods) - อาหารเฉพาะบุคคล (Personalized Foods) - อาหารโปรตีนจากพืช (Plant
-
[:en] หน่วยการศึกษาต่อเนื่อง ร่วมกับภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา จัดการอบรม เรื่อง "บทนำสู่ผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง" ในวันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม 2567 เวลา 10.00 - 12.00 น. รูปแบบการประชุม : Online ผ่าน Zoom webinar ผู้ที่สนใจ สามารถลงทะเบียนฟรี!!!!! ได้ที่ลิงค์ https://thlink.info/?go=Registration19/11/67[:]
-
[:en] หน่วยการศึกษาต่อเนื่อง ร่วมกับภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา จัดการอบรม เรื่อง "ปัญญาประดิษฐ์ทางเภสัชศาสตร์" ในวันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09.00 - 16.00 น. รูปแบบการประชุม : Onsite ณ โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส ผู้ที่สนใจ สามารถลงทะเบียนได้ที่ลิงค์ https://thlink.info/?go=Registration15/11/67[:]
-
[:en] หน่วยการศึกษาต่อเนื่อง ร่วมกับภาควิชาวิทยาการเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม จัดโครงการประชุมวิชาการ เรื่อง “Driving sustainability in the pharmaceutical industry” ในวันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน 2567 เวลา 13.00 - 16.00 น. รูปแบบการประชุม : Online ผ่าน Zoom webinar ผู้ที่สนใจ สามารถลงทะเบียนฟรี!!!!! ได้ที่ลิงค์ https://thlink.info/?go=Registrat
-
หน่วยการศึกษาต่อเนื่อง ร่วมกับภาควิชาภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ และภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ จัดโครงการอบรม เรื่อง “กัญชาทางการแพทย์: ความรู้ที่ต้องมีสำหรับเภสัชกรยุคใหม่” ในวันพุธที่ 11 ธันวาคม 2567 เวลา 9.00-12.15 น. รูปแบบการประชุม : hybrid ขอเรียนเชิญผู้ที่สนใจเข้าร่วมอบรม โดยสามารถลงทะเบียน ได้ที่ลิงค์ https://form
-
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญชวนผู้สนใจรับชม “ชวนคุยชวนคิด ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร” โดยมีวิทยากร รศ.ภก.ดร บดินทร์ ติวสุวรรณ ผศ.ภญ.ดร.สุนทรี ท.ชัยสัมฤทธิ์โชค นายแพทย์สุรโชค ต่างวิวัฒน์ คุณสารี อ๋องสมหวัง ในวันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม 2567 เวลา 18.00-19.00 น. ทาง Facebook live: https://www.facebook.com/share/nMmX24LZUiX9agYg/?mib
-
"เครื่องแบ่งบรรจุวัคซีนอัตโนมัติ" นวัตกรรมจากวิศวฯ จุฬาฯ เพิ่มจำนวนผู้รับวัคชีนได้ 20% ลดภาระงานบุคลากรการแพทย์
-
เสวนา "ผลกระทบของโลกร้อนที่ตอกย้ำในรายงาน IPCC 2021: ไทยพร้อมรับมือเพียงใด"
-
จุฬาฯ เลือนกำหนดวันพิธีพระราชทานปริญญาบัตร และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องอันเนื่องมาจากความรุนแรงของสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19
-
แพทย์จุฬาฯ เผยข่าวดีการทดสอบวัคชีน "ChulaCov19" ในอาสาสมัคร เร่งวิจัยระยะต่อไป
-
เกษียณอายุงานราชการ ประจำปี 2564
-
ชมย้อนหลังได้แล้ว..การถ่ายทอดสดบทสัมภาษณ์ เรื่อง"ยาสามัญประจำบ้านที่จำเป็น ! ในยุคโควิด-19"โดย ภญ.เพ็ญทิพา แก้วเกตุทอง ผู้จัดการสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน(โอสถศาลา) คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม 2564
-
นายกรัฐมนตรีพร้อมด้วย พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ศ.พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ได้เดินทางมาที่อาคารจุฬาพัฒน์ 14 ตรวจเยี่ยมการวิจัยและพัฒนาวัคซีนโควิด-19 โดยใช้เซลล์พืชเป็นแหล่งผลิต (วัคซีนใบยา) ซึ่งพัฒนาขึ้นเป็นผลสำเร็จครั้งแรกในประเทศไทย โดยนักวิจัยคณะเภสัช
-
[:th] จุฬาฯ พบสูตรพิชิตผมร่วงจาก “แสมทะเล” วช. ยืนยันผลงานสุดล้ำ รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับดีมาก ปี 2564 คณะเภสัชฯ จุฬาฯ ชูผลงานวิจัยรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้นระดับดีมากจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2564 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช พร้อมเผยแพร่สมุนไพรสกัดจากแสมทะเลแก้ปัญหาผมร่วงได้อย่างถึงราก คา
-
ในวันที่ 29 กันยายน 2564 คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีเปิดห้องพระ "พระพุทธสรรพพิพิธพรชัย" พระประจำคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการนี้ได้นิมนต์พระราชพัฒนากร เจ้าอาวาสวัดปริวาสราชสงคราม เป็นองค์ประธาน ทำพิธีเจิมป้ายห้องและเบิกเนตรพระพุทธสรรพพิพิธพรชัย โดยคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ผศ. ภญ. ดร.รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์ ได้ให้เกียรติกล่าวถ
-
[:th] วันนี้เรามาคุยเรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เข็มที่ 3 หรือ บูสเตอร์โดสกันครับ แต่หลายคนอาจเคืองว่า อะไรคือเข็มที่ 3 เข็มแรกยังไม่ได้เลย แต่ก็ต้องขอบอกว่าเรื่องนี้เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำความเข้าใจ เพราะวันหนึ่งคุณก็ต้องได้รับวัคซีนนี้ เพียงแต่อาจจะช้าหรือเร็วเท่านั้น เพราะฉะนั้นเรามาทำความเข้าใจกับมันก่อนดีไหมครับ บูสเตอร์โดสคือวัคซี
-
[:en]คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกลุ่มน้ำเอยน้ำใจ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง อภิฤดี เหมะจุฑา ร่วมบริจาคยาขี้ผึ้งแก้น้ำกัดเท้าจำนวน 60,000 หลอดให้แก่หน่วยงานและชุมชนที่ประสบอุทกภัย หากชุมชนที่ได้รับความเดือดร้อนสามารถขอรับบริจาคได้ที่กลุ่มน้ำเอยน้ำใจ [:]
-
[:en]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : โมลนูพิราเวียร์ พลิกเกมวิกฤตโควิด-19 จริงหรือ วันจันทร์ ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2564, 06.00 น. โดย ผศ.ภก.ดร.บดินทร์ ติวสุวรรณ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในระยะ 1-2 สัปดาห์มานี้ หลายต่อหลายคนอาทิ หมอ และนักลงทุนในตลาดหลักทรัพย์หลายแห่งบนโลกใบนี้ต่างพูดถึงยาโมลนูพิราเวียร์ (Molnupiravir) ด้วยความหวังที่แส
-
[:en]ทีมบริหารคณะเภสัชศาสตร์ กราบสักการะพระบรมรูป 2 รัชกาล ป้ายคณะฯ และพระพุทธสรรพพิพิธพรชัย เพื่อเป็นสิริมงคลในการเข้ารับตำแหน่งวันที่ 1 ตุลาคม 2564 [:]
-
[:th]ตั้งแต่เริ่มมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 หลายคนก็คุ้นชินกับชีวิตวิถีใหม่ที่ต้องรักษาระยะห่าง หมั่นล้างมือ และใช้เจลหรือสเปรย์แอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือและข้าวของอยู่เสมอๆ แต่เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าผลิตภัณฑ์ที่เราใช้อยู่นั้นปลอดภัยต่อสุขภาพและมีประสิทธิภาพทำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคได้จริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภกาญจน์ ชำนิ ภาควิชาเภสัชเวทและเภ
-
[:en]วันจันทร์ ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2564 คำถามหนึ่งที่คุณพ่อคุณแม่ และผู้ปกครองเด็กนักเรียนมัธยมต้นและปลายต่างถามกันมากในขณะนี้ คือ ควรหรือต้องให้ลูกหลานฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อโควิด-19 หรือไม่ ล่าสุด ประเทศไทยเริ่มมีวัคซีนที่ถูกอนุมัติแบบมีเงื่อนไขในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อใช้สำหรับเด็กอายุ 12 ปีขึ้นไป คือ วัคซีนชนิด m
-
พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการและวิจัย ระหว่าง มูลนิธิกสิกรไทย กับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันพุธที่ 20 ตุลาคม 2564 เวลา 15:30 น. การลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ลงนาม: ศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ลงนามในฐานะพยาน: ศาสตราจารย์
-
[:th]วันจันทร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เมื่อสถานการณ์แพร่ระบาดเชื้อโควิด-19 ในบ้านเราเริ่มน้อยลง (ในบางจังหวัดเท่านั้น) การคลายล็อกดาวน์ก็มากขึ้น บวกกับประเทศไทยกำลังจะเปิดรับชาวต่างชาติจากบางประเทศ ส่วนคนไทยจำนวนไม่น้อยก็เริ่มออกไปใช้ชีวิตนอกบ้านมากขึ้น ดังนั้นตามร้านอาหารและห้างสรรพสินค้าก็จะมีผู้คนเข้าไปมากขึ้น แล้วเราก็พบว่าแต่ละสถานที่ได้เต
-
[:th]จุฬาฯ พัฒนาชุดทดสอบแอลกอฮอล์ล้างมือด้วยตัวเอง ทำความรู้จักกับ #ชุดทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยและประสิทธิภาพของเจลและสเปรย์แอลกอฮอล์ ล้างมือด้วยตัวเอง โดย ผศ.ศุภกาญจน์ ชำนิ อาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (รายการ สุขหยุดโรค - ออกอากาศเมื่อวันอาทิตย์ที่ 24 ตุลาคม 2564) https://youtu.be/MusLlSQ6DS
-
[:th]สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก ขอขอบคุณ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้มอบเวชภัณฑ์ยาน้ำกัดเท้า จำนวน 2,000 ชิ้น ให้กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก เพื่อนำไปช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบอุทกภัยในจังหวัดนครนายก[:]
-
[:th]วันจันทร์ ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2564 อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมมือกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และภาคเอกชน พัฒนายาน้ำเชื่อมฟาวิพิราเวียร์ สำหรับเด็กและผู้ป่วยโรคโควิด-19 ตำรับแรกในประเทศไทย ซึ่งคว้ารางวัล Prime Minister Award ประเภท Innovation for Crisis ประเภทหน่วยงานภาครัฐ ในงานสตาร์ตอัพและอินโนเวชัน ไทยแลนด์ เอ็กซ์โป 2021 (SITE 2021) จัดโด
-
[:th]วันอังคารที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2564 ผศ. ภก. ดร.บดินทร์ ติวสุวรรณ ภาควิชาอาหารและเภสัชเคมี ให้สัมภาษณ์ผ่าน รายการ เกษตรสมุนไพรไทย ช่อง ททบ.5 ถึงจุดเริ่มต้นของการคิดค้นยาน้ำเชื่อมฟาวิพิราเวียร์สำหรับเด็ก ตำหรับแรกในประเทศไทย ต้านเชื่อไวรัสโควิด-19 สำหรับเด็กและผู้ป่วยที่มีความลำบากในการกลืนยาเม็ด .....ดูย้อนหลัง [:]
-
[:en]วันที่ 4 พ.ย. 2564 น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงภายหลังประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ว่า ครม.อนุมัติโครงการวิจัยและพัฒนาวัคซีนโควิด19 ChulaCov19 mRNA เพื่อทำการทดสอบทางคลินิกระยะที่ 3 และการผลิตเพื่อขึ้นทะเบียนวัคซีน เพื่อใช้ในภาวะฉุกเฉิน กรอบวงเงิน 2,316 ล้านบาท และเห็นชอบในหลักการโครงการวิจัยและพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคโควิด-1
-
[:en]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อาการหลังหายป่วยโควิด-19 แม้ไม่อันตรายมากแต่ก็ต้องระวังตัว วันจันทร์ ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564, 06.00 น. โควิด-19 คือชื่อของโรคติดต่อที่คนทั้งโลกรู้จักกันเป็นอย่างดี เพราะคนจำนวนหลายสิบล้านคนป่วยเป็นโรคนี้ และอีกหลายล้านคนก็ตายเพราะโรคนี้ และโรคนี้ยังส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อเศรษฐกิจโลก จนทำให้หลายบริ
-
[:en] หลายคนไม่มีความรู้เรื่องยา แต่กลับชอบซื้อยากินเอง ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากลัวมาก หลายคนเมื่อนึกถึงยาแคปซูลสีต่างๆ สีดำแดง เขียวฟ้า ขาวชมพู ก็เข้าใจ (เอาเอง) ว่ายาเหล่านี้คือยาแก้อักเสบ ซึ่งจริงๆ แล้วส่วนใหญ่ยาเหล่านี้ไม่ใช่ยาแก้อักเสบ แต่เป็นยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย หรือยาต้านจุลชีพ หรือยาปฏิชีวนะ หน้าที่ของยาปฏิชีวนะส่วนใหญ่คือจัดก
-
.embed-container { position: relative; padding-bottom: 56.25%; height: 0; overflow: hidden; max-width: 100%; } .embed-container iframe, .embed-container object, .embed-container embed { position: absolute; top: 0; left: 0; width: 100%; height: 100%; }
-
วัคซีนสูตรไทยเลือกทางไหนดี ? รายการ Big Story เรื่องใหญ่ Thai PBS ออกอากาศ 11 พ.ย. 64 .embed-container { position: relative; padding-bottom: 56.25%; height: 0; overflow: hidden; max-width: 100%; } .embed-container iframe, .embed-container object, .embed-container embed { position: absolute; top: 0; left: 0; width: 100%; height: 100%; }
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ใช้ยาปฏิชีวนะผิด (วิธี) ชีวิตเสี่ยง วันจันทร์ ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564, 06.00 น. อาทิตย์ก่อน เราคุยกันเรื่องความเข้าใจผิดจากการใช้ยาผิดประเภท โดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะและยาแก้อักเสบ รวมถึงปัญหาดื้อยาเพราะใช้ยาผิดประเภท อีกทั้งใช้ยาพร่ำเพรื่อเกินความจำเป็น วันนี้เราจะคุยถึงปัญหาอื่นๆ ที่มาจากการใช้ยาผิดวิธี จนเป็นสาเ
-
[:th]ด้าน ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ และ CEO & Co Founder บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จำกัด ผู้ร่วมคิดค้นวัคซีนป้องกัน Covid-19 จากใบพืชตระกูลยาสูบ (วัคซีนจุฬาฯ-ใบยา) เผยถึงความคืบหน้าของวัคซีนจุฬาฯ-ใบยา จากใบพืชตระกูลยาสูบสปีชีส์ “N. benthamiana” ซึ่งใช้ระบบการผลิต recombinant protein โดยการตัดต่อพันธุกรรมของแบคทีเรียที่ก่อโรคใน
-
ร่วมแสดงความยินดีกับ.. ศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.ปิติ จันทร์วรโชติ ได้รับทุน Research linkage Alexander von Humboldt foundation Alexander von Humboldt Foundation Germany. และ ทุน Research and Innovation Staff Exchange (RISE) ชื่อเรื่อง Supramolecular Polyamine Gene Vectors for Cancer Therapy
-
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ขอแสดงความยินดีกับคณาจารย์ทั้ง 14 ท่าน ในโอกาสได้รับทุนงานวิจัยพื้นฐาน (Fundamental Fund) จากหน่วยงานภาครัฐ แผนปฏิบัติการ และแผนงานของหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (ววน.) ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 1. ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ 2. ศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ ธนาศุภวัฒน์ 3. ศาสตราจารย์ ร.ต.อ.หญิง เภสัชกรหญิ
-
[:en]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : วิธีป้องกันการแพร่ระบาดโควิด-19 ในโรงเรียน วันจันทร์ ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564, 06.00 น. หลังจากเปิดโรงเรียนเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน และถึงแม้จะมีคำยืนยันว่าเด็กอายุ 12 ปีขึ้นไป ได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ครบโดสแล้ว แต่ก็ยังมีข่าวการแพร่ระบาดเชื้อโควิด-19 ปรากฏในโรงเรียนต่างๆ เป็นระยะๆ ประกอบกับในระยะนี้มีข่าวว่า
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : Omicron น่ากลัวมากไหม เราจะเอาชนะมันได้อย่างไร วันจันทร์ ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2564, 06.00 น. ข่าวการแพร่ระบาดโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ที่เกิดการกลายพันธุ์ โดยได้ชื่อว่า Omicron ข่าวนี้เริ่มมาตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายนปีนี้ ส่งผลให้คนจำนวนไม่น้อยตื่นตระหนก เพราะกลัวมันทำอันตรายร้ายแรงกับมนุษย์ม
-
[:th]Go Phar, Go Together เติมฝัน . . พี่ปันน้อง 8 ธันวาคม 2564 คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครบรอบ 108 ปี ขอเรียนเชิญศิษย์เก่าและผู้ใจบุญ ร่วมสละทุนทรัพย์ เพื่อสนับสนุนการศึกษาแก่นิสิตผู้มีความประพฤติดีและขาดแคลน [:en].embed-container { position: relative; padding-bottom: 56.25%; height: 0; overflow: hidden; max-width: 100%; } .embed-c
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เที่ยวปีใหม่ให้ปลอดภัย ไกลโควิด-19 ด้วยการดูแลตัวเองจริงจัง วันจันทร์ ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564, 06.00 น. ช่วงใกล้สิ้นปี เป็นช่วงแห่งการเฉลิมฉลองของผู้คนหลายคนตั้งใจท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ และเฉลิมฉลองส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ด้วยใจเบิกบาน หลังจากยอมทนเก็บเนื้อเก็บตัวอยู่ในบ้านมาน
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยาแก้แพ้ ยาที่คุณอาจแพ้ (ก็ได้) วันจันทร์ ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2564, 06.00 น. หน้าหนาวมาแล้ว หลายคนอาจดีใจ เพราะจะได้สวมเสื้อกันหนาวสวยๆ กับเขาสักที แต่อย่าลืมว่าหน้าหนาวในบ้านเรา โดยเฉพาะกรุงเทพฯ และหลายจังหวัดในภาคเหนือมักจะมาพร้อมกับฝุ่นละออง โดยเฉพาะPM2.5 ดังนั้นหน้าหนาวจึงอาจจะทำให้คนหลายค
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : Paxlovid ความหวังใหม่ที่มาฆ่าเชื้อโควิด-19 วันจันทร์ ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2564, 06.00 น. มีความหวังที่เราจะสามารถเอาชนะเชื้อโควิด-19 ได้อีกครั้งหนึ่ง หลังจากปรากฏข่าวว่า เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2564 สหรัฐอเมริกาอนุมัติใช้ยา Paxlovid แบบฉุกเฉินเป็นประเทศแรก นี่คือก้าวใหญ่ที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลงการรั
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ปณิธานสุขภาพดี เริ่มต้นตั้งแต่วันนี้ เพื่อความสุขในวันหน้า วันจันทร์ ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. สวัสดีปีใหม่ พ.ศ. 2565 ครับคุณผู้อ่านหนังสือพิมพ์ แนวหน้าทุกท่าน ปีใหม่ผมขอเชิญชวนทุกท่านมาร่วมตั้งปณิธานด้วยการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อให้มีความสุขในการดำรงชีวิตตลอดปีนี้ และปีต่อๆ ไป เมื่อตั้งปณิธานแล้ว ขอให้ลงมือปฏิ
-
[:th] รู้เท่ารู้ทัน : ไอเวอร์เมคติน - ฟลูวอกซามีน ยับยั้งโควิดได้จริงหรือ ? วันใหม่วาไรตี้ออกอากาศ 7 ม.ค. 6512 views ยาที่ใช้รักษาโควิด-19 ในประเทศไทยตลอดเวลาที่ผ่านมา เราจะพูดถึงกันแต่ยาฟาวิพิราเวียร์ กับสมุนไพรฟ้าทะลายโจร และตอนนี้มียารักษาโควิด-19 โดยตรงอย่างแพกซ์โลวิด ที่เพิ่งได้รับการอนุญาตเป็นกรณีฉุกเฉินจาก อย. สหรัฐอเมริกา แต่ที่ผ
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อาหารเสริม ต้องรู้ให้ลึกก่อนกิน วันจันทร์ ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. เป็นเวลานานแสนนานมาแล้วที่เราเห็นการโฆษณา (แต่บางครั้งเป็นโฆษณาชวนเชื่อ) ว่าผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร หรืออาหารเสริมดีวิเศษจนน่าอัศจรรย์ใจ ดังนั้นเราจึงพบว่ามีการโหมโฆษณาขายสินค้าเหล่านี้ในสื่อมวลชน ทั้งสื่อฯ หลัก และสื่อฯ ออนไลน์ โดยเห็นว่ามีรูปแ
-
[:th]รายงานความก้าวหน้าทำงาน 3 เดือน ทีมบริหารคณะเภสัชฯ https://anyflip.com/afzmb/foqn/[:en]รายงานความก้าวหน้าทำงาน 3 เดือน ทีมบริหารคณะเภสัชฯ https://online.anyflip.com/ubkbp/yeus/mobile/index.html[:]
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ต้องถามเภสัชกรก่อนหัก บด หรือแบ่งเม็ดยา มิฉะนั้น การรักษาโรคอาจไม่เป็นผล วันจันทร์ ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. เวลาที่เราได้รับยามาจากการสั่งโดยแพทย์ หรือจากการจ่ายโดยเภสัชกร ขอให้เราเคร่งครัดกับการรับประทานยาตามคำสั่ง เพื่อให้การรักษาอาการเจ็บป่วยของเรามีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งนี้ ยาที่เ
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : รู้จักโรคซึมเศร้า รู้วิธีรับมือ วันจันทร์ ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2565, 06.25 น. ปัจจุบันโรคซึมเศร้าหรือ depression น่าจะเป็นที่คุ้นเคยของประชาชนทั่วไป เนื่องจากมีข่าวการสูญเสียบุคคลที่เป็นที่รู้จักจากสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้านี้เนืองๆ แต่ที่จริงโรคนี้มีความซับซ้อนกว่าที่คนทั่วไปเข้าใจอยู่ไม่น้อย ผู้ป่วยด้วยโร
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : มะเร็งโรคร้ายที่รักษาได้ หากรู้ทันโรค วันจันทร์ ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. นอกจากตรุษจีนแล้ว สัปดาห์นี้มีวันที่สำคัญทางสุขภาพวันหนึ่งคือ 4 กุมภาพันธ์ซึ่งเป็น วันมะเร็งโลก หรือ world cancer day ในบรรดาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ “มะเร็ง” คงเป็นโรคที่ผู้คนไม่อยากประสบพบเจอมากที่สุด เพราะมะเร็งดูเหมือนจะเข
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เด็กน้อยควรฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 วันจันทร์ ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565, 06.00 น. โรคโควิด-19 เป็นโรคที่ใครๆ ก็กลัว ไม่อยากติดโรค ยกเว้นคนมีอาการผิดปรกติทางจิตที่ต้องการป่วยเป็นโรคนี้ เพื่อหวังผลบางประการ แต่เราจะไม่กล่าวถึงคนกลุ่มนี้ แต่ต้องอยู่ให้ห่างคนพวกนี้ให้มากที่สุด
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เลือกกินอาหารปลอดภัย สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค วันจันทร์ ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565, 06.00 น. คนจำนวนไม่น้อยอยากมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง อายุยืนยาว แต่ทว่ากลับกินไม่เลือก ไม่ระมัดระวังเรื่องอาหารการกิน กินของไม่ดี ไม่มีประโยชน์ ถ้าเป็นแบบนี้ รับรองว่าสุขภาพไม่มีวันดีอย่างแน่นอน แต่คนที่ดูแลเรื่องอาหารการกินเป็นอย่างดี ออ
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : กินอยู่อย่างไรให้ปลอดภัย เมื่ออยู่ในช่วงรับเคมีบำบัด วันจันทร์ ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565, 06.00 น. มะเร็งเป็นสาเหตุการป่วยและตายอันดับต้นทั้งระดับโลกและในไทย การรักษาโรคมะเร็งทำได้หลายวิธี เช่น ผ่าตัด ฉายแสง และการใช้ยา ซึ่งกลุ่มยาที่ใช้เป็นหลักคือ chemotherapy หรือเคมีบำบัด ที่ส่วนใหญ่แบบแผนการให้ยาคื
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ใช้ยาอย่างไรจึงเข้าข่าย ‘ฟุ่มเฟือย’ วันจันทร์ ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565, 06.00 น. ปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว เมื่ออายุมากขึ้น โรคภัยไข้เจ็บก็เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรังต่างๆ อาทิ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจหลอดเลือด และอื่นๆ อีกมากมาย ยิ่งอายุยืนยาวมากขึ้นจำนวนโรคประจำ
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : กินยาหลายขนาน ระวังยาตีกัน วันจันทร์ ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2565, 07.10 น. คงไม่มีใครไม่เคยเจ็บป่วย หลายครั้งเมื่อเจ็บป่วย เราต้องหายามารับประทาน โดยอาจได้ยาจากโรงพยาบาลหลังจากไปพบแพทย์ หรือบางรายอาจจะไปหาซื้อยาตามร้านขายยาทั่วไป แต่ขอแนะนำร้านขายยาที่มีเภสัชกรเท่านั้นนะครับ หรือบางครั้งก็ใช้ยาสมุนไพร ยาแผนโบราณ แต
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อย่ากินยาพร้อมกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อันตรายมาก วันจันทร์ ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. หากเราต้องใช้ยาตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปในเวลาพร้อมๆ กัน หรือใกล้เคียงกัน อาจเกิดปัญหายาตีกันได้ แล้วทำให้ร่างกายได้รับอันตรายเพราะยาตีกัน หรือไม่ได้ผลการรักษาดีเท่าที่ควร นอกจากปัญหายากับยาตีกันแล้ว ยากับอาหาร และยากับ เครื่องดื่
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เก็บยาไม่ดี รักษาไม่หาย เป็นอันตรายถึงชีวิต วันจันทร์ ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. ในทุกๆ บ้านมักมียาติดบ้าน เช่น ยาที่ต้องใช้เป็นประจำเนื่องจากเพื่อรักษาโรคประจำตัว และโรคเรื้อรัง หรือยาที่ใช้รักษาอาการเจ็บป่วยเป็นครั้งคราว รวมถึงวิตามินต่างๆ ที่เรารับประทานเพื่อหวังให้ร่างกายแข็งแรง แต่สิ่งสำคัญประการหนึ่
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยาแก้แพ้ ยาที่คุณอาจแพ้ (ก็ได้) วันจันทร์ ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2564, 06.00 น. หน้าหนาวมาแล้ว หลายคนอาจดีใจ เพราะจะได้สวมเสื้อกันหนาวสวยๆ กับเขาสักที แต่อย่าลืมว่าหน้าหนาวในบ้านเรา โดยเฉพาะกรุงเทพฯ และหลายจังหวัดในภาคเหนือมักจะมาพร้อมกับฝุ่นละออง โดยเฉพาะPM2.5 ดังนั้นหน้าหนาวจึงอาจจะทำให้คนหลายคนมีอาการโรคภูมิ
-
[:th]รู้เท่ารู้ทัน : ดื่มเหล้าขาวผสมมะนาวและฟ้าทะลายโจร ฆ่าเชื้อโควิด-19 ได้จริงหรือ ? มีการเผยแพร่คลิปวิดีโอดื่มเหล้าขาวกับน้ำมะนาว หรือดื่มเหล้าขาวกับฟ้าทะลายโจร โดยให้ข้อมูลว่าสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19 ได้ ซึ่งมีหลายคนที่เชื่อและลองทำตาม จนเกิดข้อสงสัยว่าข้อมูลนี้เป็นเรื่องจริงหรือไม่ ? จะมีผลอย่างไรต่อร่างกาย ? มาฟังรายละเอียดกับ ผศ.ภก.บดินทร์ ต
-
คณะเภสัชศาสตร์ ได้จัดโครงการค่ายอนามัยชุมชนประจำปีการศึกษา 2564 ในวันที่ 18–20 มีนาคม 2565 ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ และ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ (ผศ. ภก. ดร.บดินทร์ ติวสุวรรณ และ อ. ภก. บวรภัทร สุริยะปกรณ์) นิสิตผู้นำโครงการ (นสภ.ปภัสวดี สมสุขเจริญ) หัวหน้าโค
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ไปเที่ยวช่วงหยุดยาว อย่าลืมนำยาไปด้วย วันจันทร์ ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2565, 06.00 น. เดือนเมษายนมีวันหยุดยาวหลายวัน หลายคนคงวางแผนไปเที่ยว (ทั้งในและต่างประเทศ) ในขณะที่หลายคนก็กลับภูมิลำเนาเดิมเพื่อเยี่ยมเยียนพ่อแม่และญาติมิตร แต่ไม่ว่าจะวางแผนไปไหนก็ตาม ขอให้ทุกคนเดินทางโดยสวัสดิภาพทั้งไปและกลับ แล้วที่สำคัญคือ
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : สงกรานต์นี้ ต้องปลอดภัย ไร้โอมิครอน วันจันทร์ ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2565, 06.00 น. หลายคนกำลังเดินทางไปเที่ยวสงกรานต์ หลายคนเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิมในวันหยุดช่วงสงกรานต์ บางคนตั้งใจไปทำบุญทำทานในวันสงกรานต์ และหลายคนตั้งใจไปหาปู่ย่าตายาย พ่อแม่ ญาติพี่น้องในต่างจังหวัดในวันสงกรานต์ ทั้งหมดเป็นเรื่องดีมาก แต่ขอเตือนสต
-
เภสัช จุฬาฯ พัฒนาน้ำกระสายยาฟาวิพิราเวียร์ รสหวานเหมาะสำหรับเด็ก ลดภาระการเตรียมยา วันพฤหัสบดี ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2565, 06.00 น. อาจารย์เภสัชกร ดร.วันชัย จงเจริญ อาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า เมื่อเด็กป่วยด้วยโรคโควิด-19 บุคลากรทางการแพทย์ต้องเตรียมยาให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเด็กเป็นรายบุคคล โดยขั้นตอนเริ่มจากการคำนวณขน
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยาเสื่อมคุณภาพ คือสิ่งอันตราย วันจันทร์ ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2565, 06.00 น. ก่อนใช้ยาทุกครั้ง คุณตรวจสอบแล้วใช่ไหมว่ายาไม่หมดอายุ และไม่เสื่อมคุณภาพ เรื่องอายุของยายังตรวจสอบได้ง่าย แต่เรื่องคุณภาพยาอาจจะตรวจสอบได้ยาก ขอถามว่า คุณเก็บยาสามัญประจำบ้าน ยาสำหรับใช้ในกรณีฉุกเฉินไว้ที่ไหน มีตู้ยาหรือกล่องยาแยกเก็บเป็น
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อาหารเสริม ต้องรู้ให้ลึกก่อนกิน วันจันทร์ ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของคนไทย สาเหตุเกิดจากหลอดเลือดไปเลี้ยงที่หัวใจตีบตัน ขาดความยืดหยุ่น เนื่องจากการสะสมของไขมัน โปรตีน ที่บริเวณผนังด้านใน ของหลอดเลือด ยาลดไขมันในเลือดจึงมีบทบาทสำคัญในการรักษาและป้องกันการตายจ
-
รายงานความก้าวหน้าทำงาน 6 เดือน ทีมบริหารคณะเภสัชฯ https://online.anyflip.com/ubkbp/roie/mobile/index.html
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ใช้หน้ากากและถุงมือผิดวิธี ไม่ช่วยลดการแพร่กระจายโควิด-19 วันจันทร์ ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. ทุกวันนี้หลายคนเชื่อว่าการสวมหน้ากากอนามัย และสวมถุงมือจะช่วยลดการแพร่กระจายเชื้อโควิด-19 ได้ แต่ต้องบอกว่าไม่ทุกกรณีเสมอไป โดยเฉพาะผู้สวมหน้ากากอนามัยและถุงมือซ้ำๆ กัน เพราะหน้ากากอนามัยและถุงมือที่ใช้ซ้
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อาหารเสริม ต้องรู้ให้ลึกก่อนกิน วันจันทร์ ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. อาหารรสจัดมากๆ มีอยู่มากมายหลายชนิดในสังคมไทยแล้วคนไทยจำนวนไม่น้อยก็ชอบอาหารรสจัดแบบจัดสุดๆ โดยเน้นความแซ่บ ซูเปอร์แซ่บ แถมบางครั้งเนื้อสัตว์ที่ใช้ในอาหารก็ยังไม่สุกดี เหล่านี้คือปัจจัยทำให้เกิดอาการท้องเสียได้ อาการท้องเสีย หมายถึง กา
-
[:th] นวัตกรรมสารสกัดอินนูลินจากแก่นตะวันสำหรับผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ วิจัยและพัฒนาโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (พิเศษ) แพทย์หญิงชนนิกานต์ วิสูตรานุกูล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ตร.ศุภกาญจน์ ชำนิ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทีมวิจัยได้ทำการศึกษาและคิดค้นอินนูสินจากแก่นตะวัน เพื่อให้ได้ใยอาหารละลาย
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ท้องผูก ปัญหาไม่เล็กของคน (ไทย) วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. การขับถ่ายถือเป็นเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เพราะหากเกิดปัญหาการขับถ่ายขึ้นมาก็หมายความว่าความปกติสุขในชีวิตจะหายไป วันนี้เราจะพูดถึงคนไทยกับปัญหาท้องผูก เพราะเห็นชัดว่าการใช้ชีวิตของไทยยุคนี้เต็มไปด้วยความเร่งรีบ เร่งร้
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : โรคฝีดาษลิง อะไรคือสิ่งที่คนต้องระวัง วันจันทร์ ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2565, 06.05 น. จากข้อมูลการแพร่ระบาดโรค ฝีดาษลิง หรือ Monkeypox ในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ล่าสุดพบผู้ป่วยแล้วประมาณ 300 รายทำให้โรคนี้กำลังเป็นที่จับตามองอย่างใกล้ชิดของผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขทั่วโลก
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : สิว เรื่องไม่เล็ก สำหรับคนบางคน วันจันทร์ ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2565, 06.00 น. สิว (Acne) คือการอักเสบของผิวหนัง ที่เกิดการอุดตันของน้ำมันและเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้วที่บริเวณรูขุมขน จนเกิดการอักเสบ บวมแดง หรือมีหนอง พบมากบริเวณใบหน้า ลำคอ หน้าอก และไหล่ สิวมีหลายรูปแบบ เช่น สิวหัวดำ สิวหัวขาว สิวหัวหนอง เป็นต้น สาเ
-
สัญญาค้ำประกัน ปีการศึกษา 2565 ผู้ยืนยันสิทธิ์เข้ารับการศึกษาหลักสูตรเภสัชศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชี้แจงสัญญาค้ำประกัน ปีการศึกษา 2565 ประกาศรายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาใน ชี้แจงสัญญาค้ำประกัน ปีการศึกษา 2565
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ปวดประจำเดือนมากๆ อย่าปล่อยทิ้งไว้ วันจันทร์ ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2565, 07.21 น. เพศหญิงกับการมีประจำเดือนเมื่ออายุถึงวัยเป็นเรื่องปกติ เพราะทุก ๆ 28 วันโดยประมาณจะถึงรอบเดือนหนึ่งครั้ง (อาจบวกลบหนึ่งสัปดาห์ก่อนหรือหลังในแต่ละรอบเดือน) บางรายมีประจำเดือนมาก บางรายมีน้อย แต่โดยเฉลี่ยจะมีประมาณ 3-7 วัน ในช่วงมีปร
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ต่อมลูกหมากโต รักษาได้ วันจันทร์ ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2565, 06.00 น. ผู้ชายบางคนเมื่อเข้าสู่วัย 50 ปี ขึ้นไป อาจเริ่มมีอาการปัสสาวะไม่พุ่ง รู้สึกปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย หรือกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ โดยทั่วไปอาการที่เกิดขึ้นมักไม่ค่อยรุนแรงแต่กระทบกับความมั่นใจ หรือมีผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันอาการเหล่านี้เกิดเนื่
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ระวัง! กัญชาตีกับยาที่ใช้ประจำ วันจันทร์ ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2565, 06.05 น. หลังจากมีข่าวว่ารัฐบาลปลดล็อกให้กัญชาไม่ใช่ยาเสพติดอีกต่อไป ก็ทำให้หลายต่อหลายคนสับสนในการนำกัญชาไปใช้ในชีวิตประจำวัน ดังนั้นจึงพบว่ามีการนำกัญชาไปผสมกับอาหารต่างๆ รวมถึงเครื่องดื่มและขนมจนวุ่นวายไปหมดแล้วสุดท้ายสังคมก็ได้พบว่ามีผู้ได้รับ
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อย่าซื้อยาต้านไวรัสโควิดกินเอง อาจเป็นอันตรายมากกว่าได้ประโยชน์ วันจันทร์ ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. โควิดอยู่กับเรามา 2 ปีกว่าแล้ว จากความกลัวและวิตกจนกระทั่งมีวัคซีนออกมาให้ฉีดกันเต็มแขน บางคนทำยอดทะลุไปเข็มที่ห้าที่หกกันแล้วนั้น คงต้องยอมรับกันสักทีว่า โควิดน่าจะเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของพวกเราทุกคนกันแล้ว
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ไม่ใช่ปัญหาเล็ก วันจันทร์ ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2565, 06.42 น. ปัสสาวะแสบขัด รู้สึกเหมือนปัสสาวะไม่สุด ปวดปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ อั้นปัสสาวะไม่อยู่ มีอาการเจ็บเวลาปัสสาวะ อาการเหล่านี้มักถูกเข้าใจว่าเป็นอาการของกระเพาะปัสสาวะ ถ้าใครเคยมีอาการดังกล่าว จะพบว่าอาการนี้สามารถกลับมาเป็นซ้ำได้อี
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : กินเหล้าพร้อมกับกินยา อันตรายมาก วันจันทร์ ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. หลายคนงดเหล้าในช่วงเข้าพรรษา นับว่าเป็นเรื่องดี และจะดีมากที่สุดหากงดเหล้า งดเบียร์ ได้ตลอดไป เพราะดีต่อสุขภาพ และดีต่อสังคมโดยรวม เนื่องจากลดอุบัติเหตุ ลดการทะเลาะวิวาท และลดการเสียชีวิตเพราะอุบัติเหตุได้อย่างมาก แล้วยังลดความเสี่ยงโรคมะ
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : รับประทานยาก่อนและหลังอาหารให้ถูกวิธี วันจันทร์ ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2565, 06.00 น. การรับประทานยาเพื่อให้ได้ผลการรักษาและลดอาการข้างเคียงสิ่งที่สำคัญคือการรับประทานยาให้ถูกเวลา เวลาในการรับประทานยาจะขึ้นกับชนิดของยา และโรคภัยไข้เจ็บที่กำลังรักษาอยู่ ยาบางชนิดอาจไม่มีเวลาเฉพาะ รับประทานเมื่อไ
-
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ มูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการและวิจัย เพื่อเป็นการต่อยอดให้ได้นวัตกรรมยาและเวชภัณฑ์จากสมุนไพร โดยเฉพาะอย่างยิ่งหญ้าแฝกอันเป็นส่วนหนึ่งในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ร่วมกับมู
-
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการและวิจัย : การวิจัยและพัฒนาสูตรตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ บริษัท หมอมี จำกัด ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการและวิจัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการวิจัยและพัฒนาสูตรตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร สร้างองค์ความรู้ประสบการณ์ตลอดจนพัฒนาศักยภาพให้กับบุคลา
-
พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ บริษัท เซ็นทรัล วัตสัน จำกัด เพื่อพัฒนาความร่วมมือทางด้านวิชาการและวิชาชีพเภสัชศาสตร์ ร่วมเป็นแหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ โดย ศ.ภญ.ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ และนายจิรวัฒน์ แต่งเจนกิจ ผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท เซ็นทรั
-
คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ (ศ.ภญ.ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์) รับมอบเงินบริจาคจากบริษัท รีโว่เมด (ไทยแลนด์) จำกัด โดยคุณวาสนา อินทะแสง เป็นประธานกรรมการบริหารบริษัท ฯ บริจาคเงินจำนวน 500,000 บาท ให้แก่คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ในการซ่อมแซมปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคภายในอาคารเภสัชศาสตร์
-
คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร. พรอนงค์ อร่ามวิทย์ และทีมผู้บริหารคณะเภสัชศาสตร์ ร่วมเป็นพยานในการลงนามสัญญาความร่วมมือ ระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยคณะแพทยศาสตร์และคณะเภสัชศาสตร์ กับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) และ บริษัท อินโนบิก (เอเชีย) จำกัด ในการสนับสนุนการวิจัยและการผลิตนวัตกรรมต้านเซลล์ช
-
คณะเภสัชศาสตร์ ขอแสดงความยินดีกับคณาจารย์ และบุคลากรที่ได้รับรางวัลในพิธียกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ.2564 ในวันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยคณะเภสัชศาสตร์ มีผู้ได้รับรางวัลตามรายนาม ดังนี้ ศาสตราจารย์ ระดับ 11/A-1 และระดับ 10/A-2 ปีงบประมาณ 2564 - ศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร
-
ฝ่ายกิจการนิสิต คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโครงการมัชฌิมนิเทศ นิสิตเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2564 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะด้านสังคมแก่นิสิตเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 4 และเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีทั้งต่อนิสิตด้วยกันและต่อคณาจารย์ การพัฒนานิสิตนอกเหนือหลักสูตร เป็นการสร้างความสั
-
[:th] ฝ่ายกิจการนิสิตและสโมสรนิสิตเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดพิธีไหว้ครู คณะเภสัชศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2564 ในวันพฤหัสบดีที่ 26 สิงหาคม 2565 ณ ห้อง 702 อาคาร 80 ปีเภสัชศาสตร์ โดยภายในงานจัดพิธีไหว้ครู เพื่อให้นิสิตได้แสดงความเคารพ ความกตัญญู และระลึกถึงพระคุณของอาจารย์ รวมทั้งได้มีการมอบทุนการศึกษาแก่นิสิตที่ม
-
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโครงการด้านศิลปวัฒนธรรม “เภสัช สร้างบุญ ถวายเทียนพรรษา” เนื่องในช่วงเทศกาลวันเข้าพรรษา ประจำปี 2565 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 10.00 น. ณ วัดดวงแข กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากร ได้ร่วมกันถวายเทียนพ
-
[:th]ขอประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์คณะฯ เป็นชุดของขวัญในช่วงปลายปีนี้ ผลิตภัณฑ์ที่อยู่ใน catalogue พัฒนามาจากงานวิจัยของคณะฯ โดยคณาจารย์ นักวิจัย และนิสิต ที่มีหลักฐานทางวิชาการรองรับ โดยทุกชิ้นผลิตภายใต้มาตรฐาน และจดแจ้ง อย.ก่อนจำหน่าย รายได้หลังหักค่าใช้จ่ายเป็นการสนับสนุนการเรียนการสอนให้แก่นิสิต ทุกเซทสามารถ customize ติดโลโก้หน่วยงานได้  
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เกษียณสุข เมื่อสุขภาพดี วันจันทร์ ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2565, 06.00 น. สำหรับผู้ที่อายุครบ 60 ปี ในเดือนตุลาคม ก็นับว่าเป็นช่วงที่ส่วนมากจะต้องยุติการทำงานประจำ (ยกเว้นบางคนที่ยังต้องทำงานต่อไป เพราะไม่ได้เกษียณอายุเมื่อครบ 60 ปี) บางคนบอกว่าเกษียณแล้วจะเที่ยวๆ และเที่ยว บางคนบอกจะพักผ่อนให้
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : มีปัญหาเรื่องยา ขอให้ถามจากเภสัชกร วันจันทร์ ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565, 06.00 น. สัปดาห์ที่ผ่านมาคือสัปดาห์เภสัชและเมื่อพูดถึงเภสัชกรแล้วคนส่วนมากจะนึกถึงหมอยา หรือบุคลากรทางการแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านยา จนมีคำกล่าวว่า ถ้าสงสัยเรื่องยา โปรดถามหาเภสัชกร เชื่อว่าคุณๆ ก็
-
[:th] จัดงานเลี้ยง "เกษียณอายุงาน” ประจำปี 2565 สายใยผูกพัน สายสัมพันธ์ เภสัชฯ จุฬาฯเพื่อเป็นการแสดงมุทิตาจิตต่อคุณงามความดีและประกาศเกียรติคุณในวันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565ณ ห้อง CM Suite ชั้น 4โรงแรมโนโวเทล สยามสแควร์คณาจารย์และบุคลากรผู้เกษียณมีจำนวน 8 ท่านดังนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์ สังกัดภาควิช
-
[:th] [:en]
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ตู้เย็นไม่ใช่ตู้ยา อย่าเอายาทั้งหมดใส่ตู้เย็น วันจันทร์ ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2565, 07.50 น. เมื่อคุณได้รับยามาแล้ว ต้องรับประทานยาตามคำสั่งแพทย์หรือเภสัชกรอย่างเคร่งครัดและที่สำคัญคือต้องเก็บยาให้ดีด้วย เพราะหากเก็บรักษายาไม่ดีจะส่งผลเสียคือยาเสื่อมคุณภาพ หรือออกฤทธิ์ไม่เต็มที่ อย่าลืมว่ายาเสื่อมค
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อาการบ้านหมุน วันจันทร์ ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2565, 06.20 น. อาการเวียนศีรษะเป็นหนึ่งในความผิดปกติที่พบบ่อยโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ แต่คำว่าเวียนศีรษะหรือเวียนหัวมีความหมายค่อนข้างกว้าง คือ หมายรวมถึง มึนงง วิงเวียน รู้สึกตื้อๆ ในศีรษะ บางรายมีความผิดปกติในการทรงตัว รู้สึกโคลงเคลง เหมือนสิ่งรอบตัว
-
U2T for BCG and Regional Development or University to Thumbon for Bio Circular Green Economy Project U2T BCG aims to develop Thailand's sustainable economy based on bio-circular-green related products and services in small region like thumbon (subdistrict). Our faculty involved in organizing the projects in 17 thumbons with at least 34 product d
-
[:th] รองศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.ชาญกิจ พุฒิเลอพงศ์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะเภสัชศาสตร์ ร่วมด้วยผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร ผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ และหัวหน้ากลุ่มงาน ได้เข้าแสดงความยินดีในโอกาสครบรอบ 84 ปี แห่งการสถาปนาคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ ในวันอังคารที่ 25 ตุลาคม 2565 [:]
-
[:th] รายงานความก้าวหน้า ทีมบริหารคณะเภสัชฯ executive summary https://anyflip.com/gpjkc/hdqy/ Full Report https://anyflip.com/gpjkc/wzbr/ [:en] รายงานความก้าวหน้า ทีมบริหารคณะเภสัชฯ https://anyflip.com/gpjkc/hdqy/ [:]
-
[:th] สภาเภสัชกรรม พร้อมเครือข่ายวิชาชีพ พร้อมแถลงจุดยืนในประเด็น การมีเภสัชกรปฏิบัติการ ณ ร้านยา เต็มตามเวลาที่เปิดให้บริการ ในวันที่ 26 ตุลาคม 2565 เวลา 19:00 น. ทาง FB Live สภาเภสัชกรรม https://www.facebook.com/thaipharmacycouncil [:]
-
[:th] แถลงการณ์ศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (ศ.ศ.ภ.ท.) "การมีเภสัชกรปฏิบัติการ ณ ร้านยา เต็มตามเวลาที่เปิดให้บริการ" ศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (ศ.ศ.ภ.ท.) ซึ่งประกอบไปด้วยคณบดี คณะเภสัชศาสตร์จาก 19 สถาบันการศึกษาเภสัชศาสตร์ของประเทศไทย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิตเภสัชกรเข้าสู่ระ
-
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร. พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ รองศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.ชาญกิจ พุฒิเลอพงศ์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร พร้อมด้วยผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร ผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลุ่มงานและบุคลากร เข้าร่วมพิธีวางพวงมาลาถวายสักการะแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต ในวันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน 2565
-
[:th] คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญชวน นิสิต/นักศึกษา และบัณฑิตที่จบใหม่ไม่เกิน 5 ปี ส่งผลงานวิจัยดีเด่นที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ เพื่อพิจารณารางวัลวิจัยดีเด่น ศ.(พิเศษ) ภก.ดร. วิเชียร จีรวงส์ (Jirawongse Award 2023) ในงานประชุมวิจัยนานาชาติประจำปีทางเภสัชศาสตร์ ครั้งที่ 38 ระหว่างวันที่ 23-2
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ปณิธานปีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ วันจันทร์ ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2566, 06.00 น. วันเดือนปีเคลื่อนผ่านไปเร็วมาก รู้สึกเหมือนกับว่าเพิ่งฉลองปีใหม่ปีเสือไปไม่นาน ก็ได้ฉลองปีใหม่ปีกระต่ายกันอีกแล้ว เมื่อวันเวลาผ่านไปเร็ว เราก็ต้องหันมาให้ความสำคัญกับสุขภาพของเรามากยิ่งขึ้น เพราะผ่านไปหนึ่งปีก็เท่ากับแก่ลงไป
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ถึงรู้ว่าเหล้า เบียร์ ไวน์มีผลเสียต่อสุขภาพ แต่ก็อดใจไม่ได้ วันจันทร์ ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2566, 06.00 น. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า เบียร์ และไวน์ถูกยอมรับโดยคนไม่น้อยว่าช่วยสร้างบรรยากาศและสีสันในการพบปะสังสรรค์มีประวัติกล่าวว่า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์อยู่บนโลกใบนี้มานานนับพันๆ ปีแล้ว ดังนั
-
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมให้การต้อนรับ International Organizing Committee ของ Prince Mahidol Award Conference ที่จังหวัดน่าน ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมด้วย ศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.ปิติ จันทร์วรโชติ รองคณบดีฝ่ายวิจัย และ รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.จิตติมา ล
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : วัน (ต่อต้าน) มะเร็งโลก วันจันทร์ ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566, 06.00 น. มะเร็งเป็นโรคร้ายแรงชนิดหนึ่งที่คราชีวิตผู้คน (รวมถึงสัตว์อื่นๆ) มากเป็นอันดับต้นๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อให้ตระหนึกถึงความร้ายแรงของมะเร็ง นานาสากลจึงร่วมใจตกลงให้วันที่ 4 กุมภาพันธ์ของทุกปีเป็น วัน (ต่อต้าน) มะเร็งโลก
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยากับการเกิดไตเสื่อม วันจันทร์ ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566, 06.31 น. ทราบไหมว่าคนไทยจำนวนมากถึง 8 ล้านคน ป่วยเป็นโรคไตเรื้อรัง หากไม่รักษาให้ถูกต้องทันกาล คนกลุ่มนี้จะกลายเป็นผู้ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ต้องพาตัวไปเข้าสู่กระบวนการล้างไตเพื่อกำจัดของเสีย เพราะไตไม่สามารถทำงานได้ด้วยตัวของมันเ
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยาแก้แพ้ ใช้ผิดจะยิ่งแย่กว่าเดิม วันจันทร์ ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566, 06.00 น. โรคภูมิแพ้เป็นโรคที่พบบ่อยทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ จากสถิติพบว่าผู้ใหญ่ประมาณ ร้อยละ 20 เป็นโรคภูมิแพ้ ส่วนสถิติในเด็กพบสูงกว่าผู้ใหญ่ประมาณ 2 เท่าดังนั้นคนทั้งสองกลุ่มจึงใช้ยาแก้แพ้กันมาก และพบว่าเป็นยาที่ใช้กันมาน
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : โรคลมแดด อันตรายถึงชีวิต ถ้าแก้ไขไม่ทัน วันจันทร์ ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2566, 06.00 น. ระยะนี้ คนมากมายในเมืองไทยจะบ่นว่า ทำไมอากาศร้อนอบอ้าวแบบนี้ แล้วก็ดูเสมือนว่าอุณหภูมิช่วงหน้าร้อนในบ้านเราจะสูงขึ้นๆ ทุกๆ ปี แค่เดินกลางแดดเดี๋ยวเดียวเท่านั้น บางคนบ่นว่าแทบจะละลาย สำหรับคนที่ทำงานในห้องแอร์
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ซีเซียม-137 (Cesium-137) ธาตุอันตราย แต่ควบคุมได้ วันจันทร์ ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2566, 06.00 น. ช่วงกลางเดือนที่ผ่านมา หลายคนอาจจะตกใจและตื่นตูมกับข่าวซีเซียม-137 ที่หายไปจากโรงงาน แล้วมีข่าวว่าถูกนำไปถูกหลอมในเตาเผาขยะ ทำให้เกิดความกังวลว่าจะมีการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีตัวนี้ แล้วจะส่งผลก
-
[:th] รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ถวายสังฆทานให้ได้บุญ ต้องดูวันหมดอายุของยาก่อน วันจันทร์ ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2566, 06.15 น. ใกล้ถึงวันสงกรานต์แล้ว หลายคนไปทำบุญวันปีใหม่ไทย และหลายคนก็จัดชุดสังฆทานไปถวายพระสงฆ์ ทุกคนตั้งใจทำบุญ แต่บางคนก็ได้บุญไม่เต็มที่ เพราะถวายชุดสังฆทานที่มีของหมดอายุ หรือใกล้หมดอายุมาก โดยเฉพาะยา เพราะการถวายยาใกล้หมดอายุ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เบาๆ ความหวาน จะได้ไม่เบาหวาน วันจันทร์ ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2566, 06.45 น. สัปดาห์ที่แล้วพูดถึงคนไข้เบาหวานกับการระวังผลไม้หวานรสหวานจัดที่ออกมามากมายในช่วงฤดูร้อน วันนี้ขอขยายความลงรายละเอียดโรคเบาหวานเพิ่มเติมอีกสักหน่อย เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น เพราะเบาหวานจัดเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธา
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เอาตัวรอดจากการฆาตกรรมต่อเนื่องด้วยยา และสารเคมี วันจันทร์ ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566, 06.30 น. ฆาตกรรมต่อเนื่องด้วยไซยาไนด์ทำให้หลายคนอกสั่นขวัญแขวนไปตามๆ กัน ประการแรกด้วยเหตุที่นึกไม่ถึงว่าคดีวางยาฆ่าในการ์ตูนโคนันนั้นเกิดขึ้นจริงได้และยังเกิดในเมืองไทยอีกด้วย ซึ่งน่าเห็นใจในส่วนของญาติพี่น้องของผู้ตายอย่
-
[:th] รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ใส่บาตรให้ได้บุญ ต้องเลือกของดีต่อสุขภาพพระสงฆ์ Monday May 8, 2023, 06.45 am.. สิ่งหนึ่งที่เป็นกิจวัตรของพุทธศาสนิกชนคือการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา โดยบูชาพระพุทธ ศึกษาพระธรรม และอุปถัมภ์พระสงฆ์ ดังนั้น การฟังเทศน์ ฟังธรรม ทำสมาธิภาวนา และใส่บาตรพระสงฆ์ จึงถือเป็นการทำบุญของชาวพุทธ วันนี้จะชวนคุยเรื่องการ
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : วัคซีนสำหรับผู้สูงอายุ วันจันทร์ ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2566, 06.00 น. หนึ่งในแผนสุขภาพที่ดีที่สุดคือการป้องกันไม่ให้เกิดโรคตั้งแต่แรก ซึ่งเราสามารถทำได้โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรค เมื่อพูดถึงวัคซีน เรามักจะนึกถึงกลุ่มเด็กเล็กเป็นส่วนใหญ่ ทั้งที่จริงแล้วแต่ละช่วงวัยก็มีความจำเป็นในการป้องกันก
-
รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : โรคหัวใจ ดูแลได้ รักษาได้ ถ้าเราใส่ใจ วันจันทร์ ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2566, 06.45 น. ผ่านพ้นวันเลือกตั้ง สส. ไปแล้ว หลายคนอาจจะหายใจสะดวกขึ้นมาบ้าง เพราะช่วงก่อนเลือกตั้งนั้น บรรยากาศการเมืองค่อนข้างร้อนแรง แต่ในช่วงนั้นมีข่าวคนดังบางคนเกิดอาการวูบหมดสติ แต่ไม่ได้หมายความว่าวูบเพราะข่าวการเมื
-
[:th]Download File : ประกาศการรับนิสิตชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566 [:]
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เลิกสูบบุหรี่ พูดง่าย แต่ทำยากมาก วันจันทร์ ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2566, 06.42 น. วันที่ 31 พฤษภาคม คือวันงดสูบบุหรี่โลก แม้จะมีวันงดสูบบุหรี่โลกมาหลายสิบปีแล้ว แต่คนจำนวนไม่น้อยก็ยังสูบบุหรี่กันต่อไป ทั้งๆ ที่รู้ว่าบุหรี่ไม่ใช่ยาวิเศษ แต่ก็ยังมีคนสูบ คนสูบรู้ว่าควันบุหรี
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : สารให้ความหวานแทนน้ำตาล ปลอดภัยหรือไม่ วันจันทร์ ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2566, 06.15 น. เพราะชีวิตคนเราขาดรสชาติหวานๆ ไม่ได้ แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่าความหวานที่มากเกินไปเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ดังนั้น มนุษย์จึงพยายามอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อหาสารให้ความหวานทดแทนน้ำตาล เพราะยังต้องการรสหวาน แต่ไม่ต้
-
[:th]นักวิจัยเภสัชฯ จุฬาฯ คว้ารางวัลเหรียญทอง และรางวัลพิเศษอีก 2 รางวัล นักวิจัยเภสัชฯ จุฬาฯ คว้ารางวัลเหรียญทอง และรางวัลพิเศษอีก 2 รางวัล จากเวทีประกวดนวัตกรรม INTARG 2023 ณ สาธารณรัฐโปแลนด์ วันพฤหัสที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2566, 06.45 น. ศ.ร.ต.อ.หญิง ภญ.ดร.สุชาดา สุขหร่อง คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ และนักวิจัยจากศูนย์ความเชี่ยวชาญด้านดี
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : สารให้ความหวานแทนน้ำตาลปลอดภัยจริงหรือ (ตอน 2) วันจันทร์ ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2566, 06.00 น. สัปดาห์ที่แล้วได้นำเสนอข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก(WHO) ว่าการใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลในระยะยาวไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย สัปดาห์นี้จะลงรายละเอียดเพิ่มเติมเรื่องเดิมว่า การใช้สารให้ความหวานแทนน้
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : หวานเป็นลม ขมเป็นยา (สารให้ความหวานแทนน้ำตาล) ตอนที่ 3 วันจันทร์ ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2566, 07.40 น. เราพูดถึงเรื่องการใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลมาต่อเนื่องกัน 3 สัปดาห์แล้ว โดยเฉพาะสารให้ความหวานแทนน้ำตาล เช่น acesulfame potassium, advantame, aspartame, cyclamate, neotame, saccharin, st
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง วันจันทร์ ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2566, 07.45 น. มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง หรือ colorectal cancer เป็นมะเร็งที่พบบ่อยทั้งระดับประเทศและโลก จากสถิติในปี 2020 คนไทยป่วยด้วยโรคมะเร็งนี้ประมาณ 20,000 คนจัดเป็นมะเร็งอันดับที่ 4-5 ในคนไทย ในปีเดียวกัน มีการเสียชีวิตจากมะเร็ง
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : มะเร็งตับ ต้นเหตุการตายอันดับหนึ่งของไทย วันจันทร์ ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2566, 06.45 น. โรคมะเร็ง เป็นโรคที่เมื่อเกิดขึ้นกับใครแล้ว แล้วไม่รักษาให้ทันการณ์ นั่นหมายความว่าจะทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว แต่ก็ต้องย้ำว่า ในทางการแพทย์สามารถตรวจและรักษามะเร็งได้ แต่ต้องพบโรคในระยะเริ่
-
[:th] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอแสดงความยินดีกับอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับประกาศนียบัตรจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในฐานะนักประดิษฐ์และนักวิจัยไทยที่ได้รับรางวัลจากเวทีนานาชาติ (Internationally Outstanding Inventors Awards Ceremony) เมื่อวันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน 2566 ณ ห้องมัฆวานรังสรรค์ ชั้น 3 สโมสรทหารบก วิภาวดี
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : การตรวจคัดกรองมะเร็ง ช่วยให้รักษามะเร็งได้ วันจันทร์ ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2566, 06.15 น. มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง หรือ colorectal cancer เป็นมะเร็งที่พบบ่อยทั้งระดับประเทศและโลก จากสถิติในปี 2020 คนไทยป่วยด้วยโรคมะเร็งนี้ประมาณ 20,000 คน จัดเป็นมะเร็งอันดับที่ 4-5 ในคนไทย ในปีเดียวกัน ม
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ผู้ป่วยเกาต์ต้องเลี่ยงอาหารมีพิวรีนสูง วันจันทร์ ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2566, 07.30 น. เกาต์เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรังที่พบได้บ่อยที่สุด คือประมาณร้อยละ 1-2 ของประชากร และพบโรคนี้ในเพศชายมากกว่าเพศหญิงถึง 10 เท่า ข้ออักเสบในโรคเกาต์เกิดจากกรดยูริกในเลือดที่สูงกว่
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เราป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ วันจันทร์ ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2566, 07.30 น. สัปดาห์นี้เรามาชวนกันป้องกันโรค “ไข้เลือดออก” กันครับแม้โรคนี้จะเก่าแก่ แล้วเราคุ้นเคยกับมันมานานก็ตาม แต่เราก็ต้องป้องกันตัวเราจากมันให้ได้ ยิ่งปีนี้มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกเป็นวงกว้างและรุนแรงกว่าปีก่อนๆ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยากับเครื่องดื่ม (ตอนที่ 1) วันจันทร์ ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2566, 07.15 น. หลายท่านอาจจะเคยประสบปัญหารู้สึกว่ากินยาแล้วไม่ได้ผล หรือกำลังคิดสงสัยว่ายาที่กินไปทำไมมีผลข้างเคียงมากจริง ทั้งที่ก็กินยาตามคำแนะนำของแพทย์หรือเภสัชกรทุกอย่าง เก็บรักษายาอย่างดี ไม่ถูกแสงแดดความชื้น อุณหภูมิไม่ร้อนห
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : รักแม่ ต้องดูแลสุขภาพแม่ วันจันทร์ ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2566, 06.00 น. วันแม่แห่งชาติของไทยคือวันพิเศษสุดสำหรับแม่ที่ลูกๆ ตั้งใจมอบให้แม่ วันแม่แห่งชาติปีนี้ ลูกๆ เตรียมของพิเศษสุดให้กับแม่ นอกจากของใช้ ของกินแล้ว ยังเตรียมดูแลสุขภาพให้แม่ผู้เป็นที่รักอีกด้วย
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยากับเครื่องดื่ม (ตอนที่ 2) วันจันทร์ ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2566, 06.30 น. ต่อจากครั้งก่อนที่ว่าด้วยเรื่องการกินยากับนมหรือเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของนม สัปดาห์นี้จะมาคุยต่อเรื่องยากับเครื่องดื่มอื่นๆ ว่าสามารถกินด้วยกันได้หรือไม่ มีข้อควรระวังปลีกย่อยอย่างไร เริ่
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยุง นำมาสารพัดโรค วันจันทร์ ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2566, 07.30 น. อย่าให้ยุงกัด เดี๋ยวเป็นโรคไข้เลือดออก เรามักได้ยินคำเตือนแบบนี้บ่อยๆ ซึ่งก็จริงอยู่ แต่ทว่าคนที่ถูกยุงกัดจะไม่ได้เป็นแค่โรคไข้เลือดออกเท่านั้น เพราะยังมีโรคอื่นๆ ตามมาด้วย ขึ้นอยู่กับชนิดของยุง ในช่
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยาแก้เครียด ใช้อย่างไร วันจันทร์ ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2566, 07.45 น. ปฏิเสธไม่ได้ว่าคนจำนวนไม่น้อยมีความเครียด แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนจะเครียดไปเสียทั้งหมด บางคนเครียดจริง แต่แก้ความเครียดได้ด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น ออกกำลังกาย สวดมนต์ไหว้พระ ช่วยเหลือคนอื่นๆ ที่ด้อยกว่า ก็หายเครียดได้ &n
-
[:th] คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอแสดงความยินดีกับคณาจารย์ ที่มีผลงานติดอันดับ World’s Top 2% Most-Cited Scientists โดย STANFORD UNIVERSITY RANKING 2023 (SCOPUS) Top 2% Scientists (Single year 2022) ศ. ภญ. ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ ศ. ภก. ดร.กิตติศักดิ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ศ. ภก. ดร.ปิติ จันทร์วรโชติ รศ. ภก. ดร.ภาสวีร์ จันทร์ส
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อันตรายจากปากกาลดความอ้วนที่ไม่ได้คุณภาพ วันจันทร์ ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2566, 07.15 น. ไม่ใช่เรื่องแปลกที่คนส่วนมากอยากมีรูปร่างสวยงามสมส่วน แล้วทุกคนต่างก็รู้ดีว่าการจะมีรูปร่างงดงามนั้นเราสามารถทำได้ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องเสียเงินเสียทองมากมาย แต่ต้องดูแลตัวเองให้ดีเท่านั้น เช่น ควบคุมอาหา
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : แพ้ยา เรื่องใหญ่ของชีวิต วันจันทร์ ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2566, 07.45 น. “คุณเคยมีประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร หรือแพ้สารเคมีหรือไม่” คือคำถามหลักที่ผู้รับยาจากเภสัชกรต้องเคยถูกถามเช่นนี้เป็นประจำ และเป็นคำถามซ้ำๆ ที่หลายคนอาจรู้สึกไม่ชอบตอบ เพราะพยาบาลก็ถามเมื่อก่อนจะส่งตัวคุณไปพบแพทย์ เมื่อพบแพทย
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ออฟฟิศซินโดรม โรคที่คนไม่ได้ทำงานออฟฟิศก็เป็นได้ วันจันทร์ ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566, 08.00 น. ช่วงใกล้ปลายปีแบบนี้ คงมีคนที่กำลังเร่งปิดจ๊อบทำงานให้เสร็จตามที่วางแผนไว้ วันๆ เลยต้องใช้ชีวิตอยู่ที่โต๊ะทำงานนาน กว่างานจะเสร็จ หรือถึงเวลาเลิกงานก็ตึงไปทั้งตัว ตั้งแต่ คอ บ่า ไหล่ ปวดหลังร้า
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : รักษาไตให้ดี ชีวีเป็นสุข วันจันทร์ ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566, 08.00 น. ไตเป็นอวัยวะที่มีหน้าที่สำคัญต่อร่างกายไม่น้อยกว่า สมอง หัวใจ หรือตับ หน้าที่หลักของไตคือการกรองของเสียให้ร่างกายตลอดเวลา แล้วยังต้องรักษาสมดุลของน้ำ และเกลือแร่ต่างๆ ในเลือดอีกด้วย หากไตเสื่อมจนไม่สามารถทำหน้าที่กรอ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : วันเบาหวานโลก วันจันทร์ ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566, 06.00 น. วันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปีถูกกำหนดให้เป็นวันเบาหวานโลก เพื่อให้คนตระหนักถึงความสำคัญของโรคเบาหวานอันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับโลก องค์การอนามัยโลกระบุว่าทั่วโลกมีผู้ป่วยเบาหวานอยู่ 422 ล้านคน ส่วนในประเทศไทยมีผู้ป่วยเบาหวาน 3.3 ล
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : วันเอดส์โลก เพื่อป้องกันโรคเอดส์ วันจันทร์ ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2566, 07.30 น. ตั้งแต่ปี ค.ศ.1988 เป็นต้นมา องค์การอนามัยโลกกำหนดให้ 1 ธันวาคม เป็นวันเอดส์โลก แม้ว่าทุกวันนี้สังคมจะรับรู้แล้วว่าโรคเอดส์ไม่ได้ติดกันง่ายๆ คนที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวียังสามารถใช้ชีวิตร่วมกับผู้คนในสังคมได้โดยไม่ต้องถูกต
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ดูแลสุขภาพคุณพ่อ วันจันทร์ ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2566, 06.00 น. แม้จะเลยวันพ่อแห่งชาติมาแล้ว แต่เดือนธันวาคมถือว่าเป็นเดือนของวันพ่อแห่งชาติ จึงขอชวนคุยในเรื่องการดูแลสุขภาพของคุณพ่อ โดยเฉพาะคุณพ่อในช่วงวัยต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับคุณพ่อได้ใช้ดูแลตนเอง และเพื่อให้ลูกๆ และสมาชิกในครอบครัวใช้เป็นแ
-
[:th]ในวันศุกร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2566, ณ ห้องประชุม 910 ของอาคารนวัตกรรมคณะเภสัชศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ศ.ภญ.ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์, คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ และนายวรพล รัตนพันธุ์, ผู้จัดการทั่วไปบริษัท ดีกรีพลัส จำกัด, ได้ทำพิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ. ความร่วมมือระหว่างคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ และบริษัท ดีกรีพลัส จำกัด เพื่อพัฒนา
-
สำนักบริหารวิจัย ร่วมกับ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Unisearch) และศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (The Halal Science Center-HSC) จัดงานเสวนา Chula Future Food Platform LUNCH TALK ครั้งที่ 2 – CHULA FUNCTIONAL FOOD INNOVATION เมื่อวันอังคารที่ 16 มกราคม 2567 ณ ห้องประชุม 201 อา
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เรื่องของ (โรค) หัวใจ วันจันทร์ ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567, 07.45 น. เดือนกุมภาพันธ์ปีนี้มีเทศกาลสำคัญๆ หลายเทศกาล เช่น ตรุษจีน วาเลนไทน์ และมาฆบูชา แต่ว่าวันตรุษจีนเพิ่งผ่านไป แล้วกำลังจะเข้าช่วงวันวาเลนไทน์ ส่วนวันมาฆบูชาจะอยู่ในช่วงปลายเดือน วันนี้ขอชวนคุยเร
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ใช้ยาอมแก้เจ็บคอให้ตรงกับอาการ วันจันทร์ ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567, 07.30 น. สัปดาห์ที่ผ่านมาเกิดประเด็นตอบโต้กันไป-มาในสังคมออนไลน์เรื่องยาอมแก้เจ็บคอ โดยมีการกล่าวว่า ถ้าเราเจ็บคอมาก แล้วไปหาหมอที่โรงพยาบาล แต่หมอพิจารณาอาการแล้วสั่งจ่ายเพียงยาอมแก้เจ็บคอ ตกลงมันจะช่วยบรรเทาอาการเจ็บคอ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : การให้ยากับเด็กอย่างปลอดภัย วันจันทร์ ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567, 07.25 น. เด็กคือทรัพยากรสำคัญของโลกมนุษย์ ดังนั้นเราจึงต้องช่วยกันสร้างสรรให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ และเนื่องจากเป็นช่วงเกี่ยวเนื่องกับวันเด็กแห่งชาติ จึงชวนคุยประเด็นการใช้ยาในเด็กให้ปลอดภัยสูงสุด แม้เราจะรู้ว่า
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : รักษาไตให้ดี ชีวีเป็นสุข วันจันทร์ ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2567, 07.45 น. ไตเป็นอวัยวะที่มีหน้าที่สำคัญต่อร่างกายไม่น้อยกว่า สมอง หัวใจ หรือตับ หน้าที่หลักของไตคือการกรองของเสียให้ร่างกายตลอดเวลา แล้วยังต้องรักษาสมดุลของน้ำ และเกลือแร่ต่างๆ ในเลือดอีกด้วย หากไตเสื่อมจนไม่สามารถทำหน้าที่กรองของเส
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อยู่ให้ปลอดภัย เมื่อฝุ่น PM2.5 ท่วมเมือง วันจันทร์ ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567, 07.45 น. ทุกวันนี้ เมื่อตื่นเช้าขึ้นมาก็ต้องเช็คว่าคุณภาพอากาศเลวร้ายสถานใด โดยเฉพาะคนที่อยู่ในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ ทั่วประเทศไทย ยกเว้นแค่พื้นที่เกาะเท่านั้น ต้องบอกว่าทุกวันนี้อาการในบ้านเราวิกฤตม
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ฉลากยาช่วยช่วยชีวิต (ตอนที่1) วันจันทร์ ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2567, 07.15 น. เวลาเมื่อรับยาจากโรงพยาบาล หรือแม้แต่ซื้อยาจากร้านขายยาก็ตาม คุณเคยสังเกตหรือไม่ว่าบนฉลากยาในส่วนของข้อมูลเกี่ยวกับยานั้น นอกจากมีข้อมูลชื่อยา ความแรงของตัวยา ข้อบ่งใช้หรือสรรพคุณ และวิธีใช้ เช่น Amoxycillin 500 มิลล
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยาที่ต้องเคี้ยวกับยาที่ห้ามเคี้ยว วันจันทร์ ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2567, 07.30 น. หลายคนอาจสงสัยว่าทำไมฉลากยาบางชนิดจึงบอกให้ต้องเคี้ยวยาให้ละเอียดก่อนกลืน แต่บางชนิดบอกว่าห้ามเคี้ยว วันนี้เรามาคุยเรื่องนี้กันดีกว่า ยาที่มีฉลากระบุว่า เคี้ยวยาให้ละเอียดก่อนกลืน แล้วด
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ท้องร่วง ท้องเสีย ปัญหาสุขภาพช่วงฤดูร้อน วันจันทร์ ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2567, 07.30 น. แม้ว่าสงกรานต์จะผ่านไปแล้ว แต่อากาศร้อนจัดก็ยังอยู่กับเราต่อไป และจะอยู่ไปอีกระยะหนึ่งจนกว่าฝนจะตกชุกมากขึ้น แล้วอากาศเย็นลง ในสัปดาห์ก่อนนั้น เราได้พูดถึงอาการลมแดดหรือ heat str
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ท้องร่วง ท้องเสีย ปัญหาสุขภาพช่วงฤดูร้อน (ตอน 2) วันจันทร์ ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2567, 07.15 น. สัปดาห์ก่อนได้พูดคุยเรื่องอาการท้องเสีย ซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยในฤดูร้อน และพูดถึงยาที่นิยมใช้ในกรณีท้องเสียไป 2-3 ตัว ได้แก่ ผงน้ำตาลเกลือแร่ (ORS) เพื่อชดเชยน้ำและเกลือแร่ที่เสียไป ยาหยุดถ่ายซึ่งที่
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อาหารเสริม ศึกษาให้ดีก่อนใช้ วันจันทร์ ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2567, 07.30 น. ปัจจุบันผู้คนหันมาให้ความสนใจกับการดูแลสุขภาพมากขึ้น กระแสการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ การควบคุมน้ำหนักไม่ให้เกินเกณฑ์รวมทั้งผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต่างๆ มาแรงมาก แล้วยังมีกูรูมากมายทั้งไทย และเ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เมารถ เมาเรือ ป้องกันได้ วันจันทร์ ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2567, 06.45 น. การเดินทางขึ้นรถ ลงเรือ (รวมถึงเครื่องบิน) ไปเหนือล่องใต้ ทำให้ผู้เดินทางสนุกสนาน โดยเฉพาะผู้ที่เดินทางเพื่อพักผ่อนและท่องเที่ยว ทำให้พบเจอผู้คน ประสบการณ์ใหม่ๆ และทำให้ชีวิตมีสีสัน เพราะได้อยู่ในสถานที่ซึ่งแตกต่างไปจากก
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : โรคที่มากับช่วงเปิดเทอม วันจันทร์ ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2567, 07.55 น. เมื่อเปิดเทอมใหม่ สิ่งหนึ่งที่คุณพ่อคุณแม่ ผู้ปกครองจะต้องประสบ คือการเจ็บไข้ได้ป่วยด้วยโรคต่างๆ ของลูก หลาน เรื่องนี้อาจจะดูเป็นเรื่องปกติสำหรับคนบางคน เพราะเห็นว่าเมื่อเด็กๆ โดยเฉพาะเด็กเล็กๆ อยู่ร่วมกัน เล่นด้วยกัน เม
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยาลดความอ้วน มีคุณหรือมีโทษ วันจันทร์ ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. อยากหุ่นดี อยากรูปร่างดี ไม่อยากอ้วน นี่คือความต้องการของคนจำนวนมากในสังคมโลก แต่คำว่าหุ่นดีรูปร่างดีของแต่ละคนคงจะไม่เหมือนกัน เพราะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น สูงต่ำผิดกัน อายุต่างกัน แต่ในทางการแพทย์คำว่าหุ่นดี หมา
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อันตรายจากยาลดความอ้วน (ตอนที่ 2) วันจันทร์ ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. สัปดาห์ก่อนเราคุยเรื่องลดความอ้วน หรือยาลดน้ำหนัก เนื่องจากมีข่าวการปนเปื้อนสารไซบูทรามีนในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ที่ว่าช่วยลดน้ำหนักได้ สัปดาห์นี้มาคุยกันต่อในประเด็นอันตรายจากยาลดน้ำหนัก โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ใช้ยาโ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ใช้ยาลดปวด ลดอักเสบ ถูกวิธี ชีวีมีสุข วันจันทร์ ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. หนึ่งในอาการน่ารำคาญ รบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน หรืออาจมีอาการรุนแรงถึงขั้นทำให้ทุกข์ทรมานคืออาการปวด ซึ่งพบได้ทั่วไป และเกิดได้กับทุกคน ไม่ว่าเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ อาการปวดอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น
-
[:th] กิจกรรมการยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (สมุนไพร) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ขอเชิญชวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) หรือวิสาหกิจชุมชน หรือ OTOP ที่สนใจจะพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (สมุนไพร) สมัครเข้าร่วมกิจกรรมการยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรู
-
[:th]กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารแห่งอนาคต (อาหารและเครื่องดื่มเสริมสุขภาพ : functional food) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 📣📣📣 ขอเชิญชวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่สนใจพัฒนาอาหารแห่งอนาคต (Future Food) : - อาหารและเครื่องดื่มเสริมสุขภาพ (Functional Foods) - อาหารเฉพาะบุคคล (Personalized Foods) - อาหารโปรตีนจากพืช (Plant B
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ไบโพลาร์ อารมณ์สองขั้ว วันจันทร์ ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2567, 07.02 น. ปัจจุบันผู้คนมีความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางจิตเวชมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคซึมเศร้า อาการแพนิค หรือความเจ็บป่วยทางจิตใจอื่นๆ อย่างไรก็ตาม แม้ดูเหมือนจะเข้าใจมากขึ้น แต่ก็ยังมีความเข้าใจบางอย่างที่ผิดพลาดคาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ใช้ยาหยอดตาถูกต้อง ต้องทำแบบนี้ วันจันทร์ ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. หลายคนเคยใช้ยาหยอดตา หรือน้ำตาเทียมมาแล้ว แต่อาจใช้ไม่ถูกวิธี สัปดาห์นี้จึงมาแนะนำการใช้ยาหยอดตาอย่างถูกต้อง เพราะการใช้ยาหยอดตาที่ไม่เหมาะสมมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่ตาได้ ก่อนอื่นมาทำความเข้าใจกับยาหยอดตา ยา
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยาที่มีพิษต่อตับ วันจันทร์ ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. วันก่อนได้รับคำถามน่าสนใจจากผู้ใช้ยาท่านหนึ่ง ข้อสงสัยคือ ท่านมีโรคประจำตัวหลายโรค ทั้งเบาหวาน ความดันเลือดสูงไขมันในเลือดก็สูงด้วย ทุกครั้งที่ไปหาหมอตามนัดก็ได้รับยาหลายตัวทั้งหมอและเภสัชกรก็ย้ำตลอดว่าต้องกินยาวันละ 4-5 ขนานนี้
-
[:th]Life & Health : ยาที่แม่ใช้อาจส่งผลถึงลูก วันจันทร์ ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. สัปดาห์แรกเดือนสิงหาคมเป็นสัปดาห์นมแม่โลกในปัจจุบันคนส่วนมากทราบถึงประโยชน์ของการที่ลูกได้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนแรก เพราะให้คุณทั้งในด้านโภชนาการ ภูมิคุ้มกันต่อโรคต่างๆ การสร้างความรักผูกพันระหว่างแม่และลูก รวมถึงผลดีทางเศรษฐกิจ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : Burn Out หมดไฟ ไร้แรงใจ วันจันทร์ ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. เราทุกคนเดินทางมาถึงไตรมาสที่ 3 ของปี 2567 แล้ว แต่สำหรับส่วนราชการก็เรียกว่าเข้าสู่โค้งสุดท้ายของปีงบประมาณ ดังนั้น คนทำงานที่ต้องเร่งทำงานก็อาจมีสภาพต้องรีบเร่งทำงาน เพื่อให้จบงานโดยสมบูรณ์ตามเป้าประสงค์ การเร่งรีบทำง
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : การรักษากรดไหลย้อนโดยการปรับพฤติกรรม วันจันทร์ ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. หนึ่งในกลุ่มยาที่หลายคนไปซื้อจากร้านขายยาค่อนข้างบ่อย คือ ยาเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น ยาลดกรด ยาบรรเทาอาการปวดท้อง ยาขับลม ยาช่วยย่อย การใช้ยาเพื่อบรรเทาอาการต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น โดยใช้นานๆ ครั้ง อาจไม่เ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : กรดไหลย้อน กับการใช้ยารักษา วันจันทร์ ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. ต่อเนื่องจากสัปดาห์ก่อนที่กล่าวถึงโรคกรดไหลย้อนว่าเป็นโรคมีสาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมของผู้เป็นโรคดังนั้นการปรับพฤติกรรมคือกุญแจสำคัญของการรักษา อย่างไรก็ตาม ระหว่างปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก็ต้องใช
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ลดโอกาสเสี่ยงการแพ้ยา วันจันทร์ ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. หลายคนได้ข่าวการแพ้ยารุนแรง จนทำให้ผิวหนังหลุดลอก ต้องรักษาใน ICU นานเป็นเดือนๆ แล้วคงทำให้ผู้ใช้ยาจำนวนมากเกิดความวิตก และกลัวมาก แต่ก็ต้องบอกว่าเรื่องนี้ over มากไปหรือไม่ ตอบว่า ไม่เลย แต่ก็ขึ้นกับว่าอะไรคือสาเหตุทำให้เก
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ลดความเสี่ยงการแพ้ยา เราทุกคนทำได้ วันจันทร์ ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. มีคำถามมากมายเกี่ยวกับเรื่องแพ้ยา หลังจากที่เมื่อประมาณสองสัปดาห์ที่แล้วได้นำเสนอเรื่องนี้ไป แล้วผสมกับข่าวคนดังบางรายแพ้ยาหนักมากจนต้องถูกส่งไปรักษาในห้อง ICU นานหลายเดือน วันนี้เรา
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ : ปัจจัยเสี่ยงและการป้องกัน วันจันทร์ ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. นิ่วคือก้อนแข็งที่เกิดจากการสะสมของสารต่างๆภายในไตหรือทางเดินปัสสาวะ สามารถพบนิ่วได้ในบริเวณไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ เพราะมีสารประกอบตกตะกอนและกลายเป็นก้อนนิ่วเมื่อมีความเข้มข้นสูง แล้วทำให้เกิดค
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร จำเป็นจริงหรือ? วันจันทร์ ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. เรื่องร้อนแรงสุดๆ ในสัปดาห์นี้ คงหนีไม่พ้นเรื่องบอสดารา และบริษัทขายสินค้าออนไลน์ ที่อ้างว่ามียอดขายมหาศาล จนทำให้ทีวีทุกช่องทุกรายการออกข่าวนี้กันยกใหญ่ โดยเน้นในเรื่องความเสียหายที่เกิดกับคนที่ตกเป็นเหยื่อ ส่
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ยายับยั้งการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร กับความเสี่ยงโรคมะเร็ง วันจันทร์ ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. มีคำถามว่าการใช้ยายับยั้งการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร ทำให้เกิดโรคมะเร็ง จริงหรือ เพราะมีข้อมูลบางอย่างระบุว่าการใช้ยานี้เป็นเวลานานๆ ต่อเนื่อง เป็นต้นเหตุให้เกิดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งกระเพา
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : รู้ทันสมุนไพร และสิ่งเสริมอาหาร (เสริมอาหาร) วันจันทร์ ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. เคยนำเสนอประเด็นผลิตภัณฑ์สมุนไพร และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารไปแล้วเป็นระยะๆ เพราะเห็นว่าเป็นเรื่องใกล้ตัว แต่หลายคนไม่เข้าใจจริง วันนี้จึงขอชวนคุยเรื่องเดิมเพื่อเพิ่มความเข้าใจ และความปลอดภัยเมื่อต้องใช้ส
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : สัญญาณเตือนมะเร็ง วันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. ปัจจุบันเราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าโรคมะเร็งคือโรคที่ปัญหาสาธารณสุขระดับโลก ส่วนในประเทศไทยก็ถือเป็นปัญหาใหญ่ระดับประเทศ อ้างอิงข้อมูลจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบว่ามีผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่139,206 คนต่อปี ในจำนวนนี้มีผู้เสียชีวิตปีละ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : การใช้ยาของคนวัยเกษียณ วันจันทร์ ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. ช่วงนี้อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย เดี๋ยวร้อนเดี๋ยวหนาว บางวันฝนตก บางวันร้อน (ตับแตก) แถมยังมี ฝุ่น PM2.5 อีกด้วย จึงอาจทำให้บางคนตื่นนอนแล้วมีอาการภูมิแพ้ ทั้งแพ้อากาศ และแพ้ที่ผิวหนัง สัปดาห์นี้จึงชวนคุยเรื่องการใช้ยาแก้แพ้
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เสริมอาหารต้องปราศจากเมลาโทนิน วันจันทร์ ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. ปัญหานอนไม่หลับ เป็นปัญหาใหญ่ของหลายคน โดยในแต่ละคนก็มีสาเหตุแตกต่างกันไป เช่น เพราะมีความเครียดสะสม การทำงานเป็นกะ อายุมากขึ้น หรือสภาวะของโรคบางชนิดก็มีผลต่อการนอน เมื่อนอนไม่หลับหลายคืน ก็เกิดวงจรทำให้ร่างกายล
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : สัญญาณเตือนมะเร็ง วันจันทร์ ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. ปัจจุบันเราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าโรคมะเร็งคือโรคที่ปัญหาสาธารณสุขระดับโลก ส่วนในประเทศไทยก็ถือเป็นปัญหาใหญ่ระดับประเทศ อ้างอิงข้อมูลจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบว่ามีผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่ 139,206 คนต่อปี ในจำนวนนี้มีผู้เสียชีวิตปีละ 84
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : วิตามินดี ถ้ากินมากไป ก็อันตราย วันจันทร์ ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. มนุษย์ทุกคนย่อมปรารถนาการมีสุขภาพดี การอยู่การกินจึงสำคัญกับสุขภาพมาก กินอาหารดีออกกำลังกายเป็นประจำ ตรวจร่างกายสม่ำเสมอ ก็ช่วยให้มั่นใจว่าสุขภาพยังคงดีอยู่ แต่บางคนก็หาวิตามินหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมาบำรุงร่างกายใ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เตรียมยาเมื่อไปเที่ยว วันจันทร์ ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2567, 06.00 น. หลายคนมีโปรแกรมเดินทางกลับบ้าน หรือไปเที่ยวช่วงสิ้นปีนี้ซึ่งแม้ว่าทุกๆ การเดินทาง เราจะคาดหวังให้มีความสุขและสนุกสนานแต่บางครั้ง เราอาจเจอกับการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ หรืออาจพบอุบัติเหตุเล็กๆ น้อยๆ ได้ ถึงแม้ไม่เกิดกับเราก็อา
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : สุขภาพดีปี 2568 วันจันทร์ ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2568, 06.00 น. สวัสดีปีใหม่ 2568 กับผู้อ่านอย่างเป็นทางการเป็นอันดับแรก และเชื่อว่าสัปดาห์ที่แล้วทุกท่านน่าจะเฉลิมฉลองวันปีใหม่กันอย่างมีความสุขและเชื่อหลายๆ ท่านคงมีเวลาทบทวนชีวิตในปีที่ผ่านไป หลายๆ ท่านคงเป้าหมายและปณิธานปีใหม่เพื่อเป็นหมุดหมาย
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : การใช้ยาในเด็กให้ปลอดภัย ไร้ข้อผิดพลาด วันจันทร์ ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2568, 06.00 น. เนื่องในโอกาสวันเด็ก ขอให้ความสำคัญกับการเลี้ยงดูฟูมฟักเด็กๆ ให้เติบโตอย่างมีคุณภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ โดยเรื่องที่อยากเล่าให้ฟังในวันนี้คือ เรื่องการใช้ยาในเด็ก แม้การเจ็บป่วย
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อาชีพครูกับยาที่ใช้บ่อยๆ วันจันทร์ ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2568, 06.00 น. สืบเนื่องจากวันครูที่เพิ่งผ่านไปในฐานะที่ผู้เขียนได้ดีเพราะครูบาอาจารย์วันนี้จึงขอตอบแทนพระคุณของคุณครู ด้วยบทความที่เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพและยาที่คุณครูอาจใช้บ่อยๆ เพราะมีโรคที่พบเจอบ่อยในอาชีพคร
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : น้ำปลาร้าเค็มจัดๆ กับโรคไต วันจันทร์ ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2568, 06.00 น. เมื่อเร็วๆ นี้ ผู้เขียนได้พบกับรุ่นพี่ ซึ่งเป็นผู้บริหารกลุ่มงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่งในภาคอีสาน ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนกันแล้วทำให้ทราบข้อมูลที่น่าสนใจว่า ยากลุ่มหนึ่งที่มีปริมาณและมูลค่าการใช้สูงคือ ยารักษาภาวะฮอ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เอาตัวรอดจากภัย PM2.5 วันจันทร์ ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568, 06.00 น. ในระยะประมาณ 4-5 ปีมานี้คนกรุงเทพฯ (รวมถึงคนไทยส่วนใหญ่)ต้องเผชิญกับปัญหามลพิษทางอากาศหนักขึ้น หลายคนได้ยินเรื่อง PM2.5 บ่อยขึ้น จนกระทั่ง 1-2 ปีที่ผ่านมาก็ได้เกิดความตื่นตัวเรื่องพิษภัยของ PM2.5 มากขึ้น
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ไปอินเดีย ต้องเตรียมยาอะไรไปบ้าง วันจันทร์ ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568, 06.00 น. ผู้เขียนกำลังจะไปสังเวชนียสถานที่อินเดียในเร็วๆ นี้ ก็ต้องเตรียมยาไปด้วย เพราะอาจจำเป็นต้องใช้ยาเวลาเจ็บป่วย ประกอบกับเมื่อต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา มีข่าวนักแสดงไต้หวันเสียชีวิตเพราะไข้หวัดใหญ่ระหว่างไปเที่ยวญี่ปุ่
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : ผื่นคันจากฝุ่น วันจันทร์ ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568, 06.00 น. หลายอาทิตย์ก่อนเราเขียนเรื่องฝุ่นไปแล้ว แต่สองสามวันที่ผ่านมามีคนไม่น้อยที่ประสบปัญหาเรื่องผื่นคันผิวหนังจากฝุ่น PM2.5 เจ้าฝุ่นตัวร้ายนี้นอกจากจะสร้างปัญหากับระบบทางเดินหายใจแล้ว ก็ยังสามารถสร้างความรำคาญกับระบบผิวหนังได้ด้วยเช
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : อยู่ให้รอดจากไข้หวัดใหญ่ วันจันทร์ ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568, 06.00 น. ช่วงนี้หันซ้ายก็เจอคนจาม หันขวาก็เจอคนไอ ซึ่งช่วงนี้หลายท่านคงทราบว่าไข้หวัดใหญ่เจ้าเก่ากลับมาอาละวาดอีกแล้ว โดยข้อมูลจากกรมควบคุมโรค ตั้งแต่วันที่1 มกราคม-17 กุมภาพันธ์ พบผู้ป่วยสะสม 107,570 รายเสียชีวิต 9 ราย แนวโน้
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : งูสวัด เป็นได้ ถ้าร่างกายอ่อนแอ วันจันทร์ ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2568, 06.00 น. วันก่อนเพื่อนผู้เขียนไปฉีดวีคซีนไข้หวัดใหญ่ที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง เห็นป้ายโฆษณาเชิญชวนฉีดวัคซีนป้องกันงูสวัด โดยป้ายบอกว่าวัย 50 ปีขึ้นไปควรฉีดวัคซีนนี้เขาจึงกลับมาถามผู้เขียนว่า ควรฉีดหรือไม่ ความเสี่ยงที่จะติด
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : โรคเบาหวานรักษาได้ วันจันทร์ ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2568, 06.00 น. สัปดาห์ก่อนได้บอกเล่าเรื่องโรคเบาหวาน แล้วชี้ว่าผู้ป่วยเบาหวานมีจำนวนมาก และหากผู้ป่วยเหล่านั้นคุมโรคไม่ดีจะเกิดภาวะแทรกซ้อน อันเป็นสาเหตุการป่วยและตายได้ก่อนวัยอันควร แต่สำหรับนักวิจัยสายสุขภาพก็พยายามหาวิธีการและคิดค้นยาตัวใหม่ที่ใ
-
[:th]รู้เรื่องยากับเภสัชจุฬาฯ : เบาหวาน รักษาได้ ถ้ารู้เร็ว วันจันทร์ ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2568, 06.00 น. โรคเบาหวานไม่ใช่ปัญหาเฉพาะแค่คนไทย แต่มันเป็นปัญหาสุขภาพสำคัญของคนทั่วโลก อยากให้ทุกคนลองดูตัวเลขผู้ป่วยเบาหวาน แล้วจะรู้ว่าโรคนี้อยู่ใกล้ตัวเรามากๆ ข้อมูลจากสหพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International Diabetes
-
ลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยี (DESCRIPTION) ชุดทดสอบแอลกอฮอล์เบื้องต้นนี้ ใช้งานง่ายมีขั้นตอนการใช้งานเพียง 3 ขั้นตอน วิเคราะห์ผลได้รวดเร็วภายในเวลา 3 นาที และสามารถใช้กับผลิตภัณฑ์ที่มีแอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบหลักทั้งแบบน้ำและเจลที่มีแบบแต่งสีและกลิ่น น้ำหอม วัตถุดิบแอลกอฮอล์ โดยชุดทดสอบนี้สามารถระบุประเภท แอลกอฮอล์ ได้แก่ เอทานอล เมทานอล และไอโซโพรพา
-
ลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยี (DESCRIPTION): แก่นตะวันเป็นพืชที่มีกากใยสูง และมีอินนูลิน (inulin) ซึ่งเป็นใยอาหารละลายน้ำชนิดฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นอาหารของ โปรไบโอติกซึ่งเป็นกลุ่มแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ที่สร้างประโยชน์ต่อร่างกาย การรับประทานแก่นตะวัน จึงมีส่วนช่วยในการเพิ่มจุลินทรีย์โพรไบโอติกในร่างกาย สามารถเสริมสร้างสมดุลของแบคที
-
สเปรย์พ่นหน้ากากผ้า ช่วยป้องกันไวรัสโควิด-19 และกันฝุ่น PM 2.5 ทีมงานวิจัยของ ผศ.ดร.ภญ.จิตติมา ลัคนากุล คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับ ภญ.พุทธิมน ศรีบนฟ้า ผลิตนวัตกรรมสเปรย์ ชีลด์พลัส โพรเทคติ้ง สเปรย์ (Shield+ Protecting Spray) ปราศจากสารที่เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ ใช้สำหรับพ่นหน้ากากผ้า โดยสเปรย์จะทำหน้าที่เป็นตัวกรองของหน
-
จุฬาฯ พบสูตรพิชิตผมร่วงจาก “แสมทะเล” วช. ยืนยันผลงานสุดล้ำ รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับดีมาก ปี 2564 คณะเภสัชฯ จุฬาฯ ชูผลงานวิจัยรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้นระดับดีมากจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2564 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช พร้อมเผยแพร่สมุนไพรสกัดจากแสมทะเลแก้ปัญหาผมร่วงได้อย่างถึงราก คาดจะออ
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์ของคุณให้ดียิ่งขึ้น คุณสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า